Company logo
หน้า MARC
Rec.Status n Bib.Stage Normal Create trikao Modify trikao
Rec.Type a Language tha Entry d. 2017/08/16 Update d. 2022/08/16
Bib.Level m Pub Ctry. th Date1 2559 Date2 0
Tag Ind Content
001##0002-2622
016##\a17640 ฉ.1
016##\a22766 ฉ.2
020##\a9786169261209
050##\aLA1221 \b.ป74 2559
1000#\aเปรมา สัตยาวุฒิพงศ์
24510\aการศึกษาในสมัยรัชกาลที่ 7 : \b ขยายโอกาส มุ่งคุณภาพ พร้อมคุณธรรม / \c เปรมา สัตยาวุฒิพงศ์
250##\aพิมพ์ครั้งที่ 1
260##\aกรุงเทพฯ : \b มูลนิธิประชาธิปก-รำไพพรรณี, \c 2559
300##\a(23), 312 หน้า : \b ภาพประกอบ ; \c 21 ซม.
490##\aมองอดีต เล็งอนาคต : การปฏิรูปในสมัยรัชกาลที่ 7 : (2)
5050#\aบทนำ -- แนวคิดและนโยบายการจัดการศึกษาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว -- การจัดการศึกษาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว -- ผลการจัดการศึกษาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
520##\aการจัดการศึกษาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นสืบเนื่องจากการปฏิรูปการศึกษาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 และการจัดการศึกษาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชการที่ 6 ผู้ที่มีบทบาทสำคัญในการกำหนดแนวคิดและนโยบายในการจัดการศึกษา นอกจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวแล้ว ก็คือ เสนาบดีกระทรวงธรรมการทั้งสองท่าน ท่านแรก คือ เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา) มีความเห็นว่าควรเร่งรัดจัดการศึกษาเพื่อให้โอกาสแก่คนส่วนใหญ่ได้ศึกษาโดยทั่วหน้ากัน และเร่งจัดการวิชาชีพเพื่อความอยู่ดีกินดีของประชาชน และเพิ่มพูนรายได้ให้แก่ประเทศ อีกท่านหนึ่งคือ พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าธานีนิวัต กรมหมื่นพิทยาลาภพฤฒิยากร ทรงเล็งเห็นว่าเมื่อการศึกษาแพร่หลายมากขึ้นในระดับหนึ่งแล้ว ก็ควรที่จะให้ความสนใจในการพัฒนาคุณภาพของการศึกษามากขึ้น ปัญหาและอุปสรรคสำคัญในการจัดการศึกษา คือ การขาดแคลนงบประมาณในการดำเนินงาน ซึ่งถือเป็นปัญหาพื้นฐานของการศึกษาทุกยุคทุกสมัย เพราะรัฐยังคงเน้นเรื่องความมั่นคงของประเทศเป็นหลัก และการขาดแคลนบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถที่จะรับงานไปปฏิบัติให้เกิดประสิทธิภาพในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มีการแก้ปัญหาโดยเริ่มภาษีการศึกษาในรูปแบบเงินศึกษาพลี ซึ่งเป็นการเก็บเงินสำหรับช่วยการจัดการศึกษาในแต่ละท้องถิ่น ตั้งแต่ พ.ศ. 2465 เป็นต้นมา แต่ก็ยังสามารถดำเนินการได้ในขอบเขตที่จำกัด ประกอบกับประชาชนส่วนใหญ่ยังไม่เห็นความสำคัญของการศึกษาเท่าที่ควร จนกระทั่งประกาศยกเลิกการเก็บเงินศึกษาพลีใน พ.ศ. 2473 และจัดเงินงบประมาณแผ่นดินทดแทนเงินศึกษาพลี ซึ่งเท่ากับเป็นการเริ่มจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้แก่ประชาชนโดยไม่คิดมูลค่า
60004\aปกเกล้าเจ้าอยู่หัว, \c พระบาทสมเด็จพระฯ, \d 2436-2484
650#4\aการศึกษา \z ไทย
650#4\aการศึกษา \z ไทย \y รัชกาลที่ 7
651#4\aไทย \x ประวัติศาสตร์ \y กรุงรัตนโกสินทร์ \y รัชกาลที่ 7, 2468-2477
651#4\aไทย \x การเมืองและการปกครอง \y กรุงรัตนโกสินทร์ \y รัชกาลที่ 7, 2468-2478
7102#\aมูลนิธิประชาธิปก-รำไพพรรณี
7102#\aจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. \b สถาบันเอเชียศึกษา
850##\aLIC
930##\aพระปกเกล้าศึกษา
999##\a2110026995 ฉ.1
999##\a2110033373 ฉ.2
หน้าปก

ส่งหน้านี้ไปยังสมาร์ทโฟน


ฐานข้อมูลปัจจุบัน
ฐานข้อมูลหลัก
(Total 31129 Bib)
กลับสู่ด้านบน

© 2024. Book Promotion & Service Co.,Ltd. · เจ้าหน้าที่เข้าสู่ระบบ · ติดต่อห้องสมุด