Company logo
หน้า MARC
Rec.Status n Bib.Stage Normal Create trikao Modify trikao
Rec.Type a Language tha Entry d. 2021/04/02 Update d. 2021/04/02
Bib.Level m Pub Ctry. th Date1 2563 Date2 0
Tag Ind Content
001##0002-7930
016##\a21717
020##\a9786168215272
050##\aDS463 \b.ร32 2563
1000#\aรณชิต คูหา
24510\aกบฏชาวนา : \bมูลฐานจิตสำนึกในอินเดียยุคอาณานิคม / \cรณชิต คูหา ; ปรีดี หงษ์สต้น แปล
250##\aพิมพ์ครั้งที่ 1
260##\aกรุงเทพฯ : \bอิลลูมิเนชันส์ เอดิชันส์, \c2563
300##\a613 หน้า : \bภาพประกอบ ; \c21 ซม.
500##\aแปลจาก : \bElementary aspects of peasant insurgency in colonial India, \c1983
5050#\a1. บทนำ -- 2. การกลับด้าน -- 3. ความคลุมเครือ -- 4. ลักษณะร่วม -- 5. ความเป็นปึกแผ่น -- 6. การแพร่กระจาย -- 7. อาณาเขต -- 8. บทส่งท้าย
520##\a"กบฏชาวนา : มูลฐานจิตสำนึกในอินเดียยุคอาณานิคม" เล่มนี้ เขียนโดย "รณชิต คูหา" และแปลเป็นภาษาไทยอย่างทั้งราบรื่นและแหลบคม โดย "ปรีดี หงษ์สต้น" เป็นตัวอย่างของประวัติศาสาตร์ฉบับประชาชน ที่สะท้อนว่า ประชาชนกระทำอะไร ประชาชนถูกกระทบโดยอำนาจโหดร้ายป่าเถื่อนอย่างไร และประชาชนต่อาต้นความโหดร้ายป่าเถื่อนของผู้มีอำนาจอย่างไร แทนที่จะเล่าเขียนว่า ยุคอาณานิคม อังกฤษในอินเดียเป็นช่วงที่อังกฤษได้ครอบงำควบคุมคนอินเดียอย่างมิดชิด "คูหา" กลับเขียนประวัติศาสตร์อินเดียยุคอาณานิคมอังกฤษฉบับใหม่ เป็นฉบับประชาชน โดยการเขียนประวัติศาสตร์ของกบฏชาวนาจากมุมมองชาวนา และโดยการวางเอาชาวนาเป็นผู้กระทำหลักของเรื่อง ความคิดและจิตสำนึกของชาวนาเองเป็นสิ่งที่ทำให้เกิดมีกบฏ และการเปลี่ยนแปลงในสังคมการเมือง ทั้งยังทำให้ประวัติศาสตร์เดินหน้าต่อไป ประวัติศาสตร์ที่ผู้อ่านจะได้พบในเล่มนี้ไม่ใช่ของผู้มีอำนาจ แต่เป็นของผู้ที่กำลังจะไปคว้าเอาอำนาจนั้นมา!
650#4\aกบฏชาวนา \z อินเดีย
651#4\aอินเดีย \x การเมืองและการปกครอง \y ค.ศ. 1765-1947
653##\aการจลาจลของชาวไร่ชาวนา \z อินเดีย
7000#\aปรีดี หงษ์สต้น
850##\aLIC
999##\a2110032085
หน้าปก

ส่งหน้านี้ไปยังสมาร์ทโฟน


ฐานข้อมูลปัจจุบัน
ฐานข้อมูลหลัก
(Total 31137 Bib)
กลับสู่ด้านบน

© 2024. Book Promotion & Service Co.,Ltd. · เจ้าหน้าที่เข้าสู่ระบบ · ติดต่อห้องสมุด