Company logo
บัตรรายการ
ISBN9786168215357
เลขเรียกหนังสือBQ4570.ก55 .ส74อ 2564
ผู้แต่งสุรพศ ทวีศักดิ์ (7)
ชื่อเรื่องอำลาพุทธราชาชาตินิยม : วิพากษ์แนวคิดชาตินิยมแบบพุทธของสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ. ปยุตฺโต) / สุรพศ ทวีศักดิ์
พิมพ์ครั้งที่พิมพ์ครั้งที่ 1
พิมพลักษณ์กรุงเทพฯ : อิลลูมิเนชันส์ เอดิชันส์, 2564
จำนวนหน้าxix, 179 หน้า : ภาพประกอบ ; 21 ซม.
หมายเหตุสารบัญบทที่ 1 จากพุทธศักดินาสู่พุทธราชาชาตินิยม -- บทที่ 2 ปัญหาศาสนาประจำชาติกับเสรีภาพทางศาสนา -- บทที่ 3 ไม่แยกศาสนากับรัฐ แก้ปัญหาหรือสร้างปัญหา -- บทที่ 4 ปัญหาพระสงฆ์อยู่เหนือการเมืองและธรรมาธิปไตยกับประชาธิปไตย -- บทที่ 5 เพื่อไม่ถูกลวงให้นับถือศาสนาจริยธรรมสากล คนไทยทุกคนควรเรียนจริยธรรมพุทธศาสนา -- บทที่ 6 อำลาพุทธราชาชาตินิยม จะอยู่ร่วมกันได้ไหม (บนหลักความยุติธรรมสาธารณะของจอห์น รอลส์)
สาระสังเขปในบ้านเรายังไม่มีการปะทะถกเถียงระหว่างแนวคิดพุทธราชาชาตินิยม กับเสรีนิยมและโลกวิสัยอย่างจริงจัง เวลาตั้งคำถามว่าพระสงฆ์เกี่ยวข้องกับ การเมืองได้หรือไม่ จึงมีคำตอบเพียงด้านเดียว คือ คำตอบที่อ้างธรรมวินัย และคำสั่งมหาเถรสมาคม แต่ถ้าตอบบนจุดยืนเสรีนิยมและหลักการโลกวิสัย การที่พระสงฆ์ในฐานะปัจเจกบุคคลแสดงความคิดเห็น หรือแสดงออกใดๆ ในทางสนับสนุนเสรีภาพและประชาธิปไตยย่อมไม่ผิด ระบบมหาเถรสมาคมที่เป็นศาสนจักรขึ้นตรงต่ออำนาจของกษัตริย์ตามโบราณ ราชประเพณีที่มีอำนาจแบบศาสนจักรยุคกลางในการ ตีกรอบ ให้พระสงฆ์ ทำหน้าที่ทางการเมืองสนับสนุนอำนาจบารมีบุญญาธิการ ความศักดิ์สิทธิ์ ของกษัตริย์ หรือสนับสนุนอุดมการณ์ ชาติ ศาสนา กษัตริย์เป็นด้านหลัก และ ห้ามพระสงฆ์ใช้สิทธิทางการเมืองสนับสนุนเสรีภาพและประชาธิปไตยในฐานะ พลเมือง ต่างหากที่ผิดและต้องยกเลิกระบบศาสนจักรของรัฐแบบยุคกลางนี้เสีย
หัวเรื่องพระราชวรมุนี (ประยุทธ์), 2481- (5)
 พระราชวรมุนี (ประยุทธ์), 2481- -- ทัศนะเกี่ยวกับการเมืองและสังคม
 พุทธศาสนากับการเมือง (32)
 ชาตินิยม -- แง่ศาสนา (2)
 ชาตินิยม (17)
ฉบับปัจจุบันที่มีLIC
หน้าปก

ส่งหน้านี้ไปยังสมาร์ทโฟน




ฐานข้อมูลปัจจุบัน
ฐานข้อมูลหลัก
(Total 31137 Bib)
กลับสู่ด้านบน

© 2024. Book Promotion & Service Co.,Ltd. · เจ้าหน้าที่เข้าสู่ระบบ · ติดต่อห้องสมุด