Company logo
บัตรรายการ
เลขเรียกหนังสือK487.ศ7 .จ62 2554
ผู้แต่งจิระวัฒน์ ปั้นเปี่ยมรัษฏ์ (3)
ชื่อเรื่องการวิเคราะห์กฎหมายด้วยวิธีทางเศรษฐศาสตร์ : การคิดค่าเสียหายในคดีละเมิด : รายงานฉบับสมบูรณ์ (final report) / โดย สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย ; จิระวัฒน์ ปั้นเปี่ยมรัษฎ์ หัวหน้าโครงการ ; ทวีชัย เจริญเศรษฐศิลป์, ทัศนีย์ ปิยนิรันดร์, ทรงพล สงวนจิตร นักวิจัย
พิมพ์ครั้งที่พิมพ์ครั้งที่ 1
พิมพลักษณ์กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย, 2554
จำนวนหน้า1 เล่ม (หน้าไม่เรียงลำดับ) ; 30 ซม.
หมายเหตุสารบัญบทที่ 1 บทนำ -- ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์กฎหมายด้วยวิธีทางเศรษฐศาสตร์ -- บทที่ 2 หลักเศรษฐศาสตร์เกี่ยวกับการกำหนดค่าเสียหายในกฎหมายละเมิด -- 2.1 วัตถุประสงค์ของกฎหมายละเมิด -- 2.2 ค่าเสียหายที่เหมาะสมในกรณีที่เกิดความเสียหายที่ไม่เป็นตัวเงิน -- 2.3 หลักการคำนวณค่าเสียหายที่เหมาะสมในกรณีการตายโดยมิชอบ (Wrongful death) และกรณีบาดเจ็บ (Injuries) -- 2.4 แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์เกี่ยวกับการกำหนดค่าเสียหายที่เหมาะสม -- 2.5 ค่าเสียหายเชิงลงโทษ (Punitive damages) -- 2.6 กฎหมายละเมิดกับการใช้ความระมัดระวัง : หลักฐานเชิงประจักษ์ -- บทที่ 3 การคำนวณค่าเสียหายโดยอาศัยหลักเศรษฐศาสตร์ -- 3.1 หลักการทางเศรษฐศาสตร์ในการคำนวณค่าเสียหายที่เป็นตัวเงิน -- 3.2 หลักการทางเศรษฐศาสตร์ในการคำนวณค่าเสียหายที่ไม่เป็นตัวเงิน -- บทที่ 4 ความรับผิดและค่าเสียหายตามกฎหมายละเมิดไทย -- 4.1 ความรับผิดทางละเมิด (Tort liability) -- 4.2 ค่าเสียหายเชิงชดเชยในคดีละเมิดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ -- 4.3 หลักในการกำหนดค่าเสียหายตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ -- 4.4 ดอกเบี้ยในมูลหนี้ละเมิดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ -- 4.5 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งกับปัญหาในการกำหนดค่าเสียหายที่เหมาะสม -- 4.6 ความรับผิดทางละเมิดในกฎหมายฉบับอื่นๆ -- บทที่ 5 การวิเคราะห์แนวทางการกำหนดค่าเสียหายของศาลไทย -- 5.1 การกำหนดค่าเสียหายต่อร่างกายและอนามัย -- 5.2 การคิดค่าเสียหายต่อชีวิต -- 5.3 การคิดค่าเสียหายต่อเสรีภาพ -- 5.4 การคิดค่าเสียหายต่อทรัพย์สิน -- 5.5 การคิดค่าเสียหายต่อสิทธิอื่น ๆ -- 5.6 การคิดค่าเสียหายต่อชื่อเสียงเกียรติคุณ -- 5.7 การคิดดอกเบี้ยในหนี้ละเมิด -- บทที่ 6 การกำหนดค่าเสียหายที่ไม่เป็นตัวเงิน : กรณีศึกษาประเทศสหรัฐอเมริกา -- 6.1 ค่าเสียหายที่ไม่เป็นตัวเงินในสหรัฐอเมริกา -- 6.2 การกำหนดค่าเสียหายที่ไม่เป็นตัวเงินในสหรัฐอเมริกา -- 6.3 ปัญหาและผลกระทบจากการขาดหลักการในการกำหนดค่าเสียหายที่ไม่เป็นตัวเงิน -- 6.4 การปฏิรูปกฎหมายละเมิดในสหรัฐอเมริกา -- 6.5 ข้อเสนอเกี่ยวกับแนวทางในการปรับปรุงวิธีการกำหนดค่าเสียหายที่ไม่เป็นตัวเงินในสหรัฐอเมริกา -- บทที่ 7 บทวิเคราะห์และข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงการกำหนดค่าเสียหายของศาลไทย -- 7.1 ข้อจำกัดในการกำหนดค่าเสียหายของศาลไทย -- 7.2 ข้อเสนอเกี่ยวกับแนวทางปรับปรุงการกำหนดค่าเสียหายของศาลไทย
หัวเรื่องค่าเสียหาย
 กฎหมายกับเศรษฐศาสตร์ (8)
 ละเมิด (2)
รายการเพิ่มผู้แต่งทวีชัย เจริญเศรษฐศิลป์, 2514-
 ทัศนีย์ ปิยนิรันดร์
 ทรงพล สงวนจิตร
 มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (27)
ฉบับปัจจุบันที่มีLIC
หน้าปก

ส่งหน้านี้ไปยังสมาร์ทโฟน




ฐานข้อมูลปัจจุบัน
ฐานข้อมูลหลัก
(Total 31106 Bib)
กลับสู่ด้านบน

© 2024. Book Promotion & Service Co.,Ltd. · เจ้าหน้าที่เข้าสู่ระบบ · ติดต่อห้องสมุด