Company logo
บัตรรายการ
ISBN9786168311097
เลขเรียกหนังสือJS7153.3.ก2 .ช64ก 2566
ผู้แต่งชัยพงษ์ สำเนียง (10)
ชื่อเรื่องการเมือง ความหวัง กับชีวิตประจำวัน การต่อรองของชาวบ้านผู้ประกอบการ / ชัยพงษ์ สำเนียง
พิมพ์ครั้งที่พิมพ์ครั้งที่ 1
พิมพลักษณ์กรุงเทพฯ : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน), 2566
จำนวนหน้า333 หน้า : ภาพประกอบ ; 21 ซม.
หมายเหตุสารบัญบทที่ 1 บทนำ : ชีวิตทางการเมืองของคนชนบท -- บทที่ 2 พลวัตการกระจายอำนาจในบริบทการขยายอำนาจของรัฐไทย -- บทที่ 3 คนกลุ่มใหม่ในชนบทกับการสร้างพื้นที่ทางการเมือง -- บทที่ 4 การเมืองท้องถิ่นในชีวิตประจำวัน -- บทที่ 5 การเมืองเชิงนโยบบายในพื้นที่การเมืองท้องถิ่น -- บทที่ 6 การเมืองของการสรา้งธรรมาภิบาลท้องถิ่นในการจัดการทรัพยากร -- บทที่ 7 สะท้อนย้อนคิด : ชาวนาการเมือง พื้นที่การเมืองเชิงซ้อน และการเมืองจากเบื้องล่าง -- บทที่ 8 บทสรุป : การเมืองแห่งความหวังในชีวิตประจำวันของชาวบ้าน
สาระสังเขปความเหลื่อมล้ำและความไม่เป็นธรรมในสังคมไทยเป็นปัญหาเรื้อรังที่นักวิชาการไทยและต่างชาติได้นำเสนอวิธีคิดและข้อถกเถียงเพื่อทำความเข้าใจปัญหานี้ตลอดมา แต่มีการศึกษาจำนวนน้อยที่พยายามเข้าใจมิติอำนาจการเมือง และอำนาจผ่านการปฏิบัติในชีวิตประจำวันของประชาชน หนังสือของชัยพงษ์ สำเนียง ช่วยขยายความเข้าใจว่าคนท้องถิ่นสามารถปรับเปลี่ยนตนเองเป็นผู้ประกอบการและมีบทบาททางการเมืองได้อย่างไร รวมทั้งชี้ให้เห็นว่าการทำงานการเมืองท้องถิ่นที่เชื่อมโยงอยู่กับชีวิตประจำวันต้องใช้ทักษะทางความคิด การสร้างความไว้เนื่อเชื่อใจ และมีเครือข่ายสังคมที่กว้างขวาง ผู้ที่เดินเข้าสู่ตำแหน่งนักการเมืองท้องถิ่นต้องสามารถเป็นที่พึ่งพาอาศัยและแก้ปัญหาของที่ช่วบ้านได้อย่างเป็นรูปธรรม กลุ่มชนชั้นกลางในท้องถิ่นถือเป็นผู้กระทำการและตัวกลางสำคัญที่เชื่อมต่อโครงการของรัฐเข้ากับความต้องการของท้องถิ่น ทำให้ชาวบ้านมีโอกาส มีทางเลือกทางเศรษฐกิจและมีความหวังที่จะมีชีวิตที่ดีขึ้นกว่าเดิม
หัวเรื่องการปกครองท้องถิ่น -- ไทย (551)
 การปกครองท้องถิ่น -- ไทย (ภาคเหนือ) (2)
 นักการเมือง -- ไทย (181)
 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ (8)
ฉบับปัจจุบันที่มีLIC
หน้าปก

ส่งหน้านี้ไปยังสมาร์ทโฟน




ฐานข้อมูลปัจจุบัน
ฐานข้อมูลหลัก
(Total 31100 Bib)
กลับสู่ด้านบน

© 2024. Book Promotion & Service Co.,Ltd. · เจ้าหน้าที่เข้าสู่ระบบ · ติดต่อห้องสมุด