Company logo
บัตรรายการ
ISBN9789740218647
เลขเรียกหนังสือNA1521 .ช63ส 2566
ผู้แต่งชาตรี ประกิตนนทการ (10)
ชื่อเรื่องสถาปัตย์-สถาปนา : การ(เมือง)ดีไซน์พื้นที่และความนัยสถาปัตยกรรม / ชาตรี ประกิตนนทการ
พิมพ์ครั้งที่พิมพ์ครั้งที่ 1
พิมพลักษณ์กรุงเทพฯ : มติชน, 2566
จำนวนหน้า(14), 330 หน้า : ภาพประกอบ ; 22 ซม.
หมายเหตุสารบัญพื้นที่เมือง : State-Led Gentrification ในย่านเก่ากรุงเทพฯ -- Urban Vernacular: จิตวิญญาณใหม่สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น -- Neuroarchitecture: เมื่อสถาปัตยกรรมส่งผลต่อสมองและทิศทางใหม่ในการออกแบบเมือง? -- อ่านเมืองใหม่คณะราษฎรในย่านเก่ากรุงเทพฯ จากแผนที่ -- พื้นที่อุดมการณ์ : อนุสรณ์สถานความน่าละอายของชาติ -- พื้นที่ (ไฟเขียว) ทางการเมือง : นโยบายเร่งด่วนมากกว่าการเพิ่มพื้นที่สีเขียวให้กรุงเทพฯ -- เสรีภาพใน (กรุงเทพฯ) เมืองสร้างสรรค์ -- จอมพล ป. เผด็จการฟาสซิสต์ ผู้นำชาตินิยมหรือนักประชาธิปไตย -- อ่านความเป็นไทย Thailand Pavilion ใน World Expo 2020 -- Facade ใหม่นิทรรศน์รัตนโกสินทร์ : ความไม่จำเป็นที่ขาดไม่ได้ ในพื้นที่การเมืองของความทรงจำคณะราษฎร -- พื้นที่ความเชื่อ : จิตรกรรมฝาผนังลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา: ที่มา หน้าที่ และความหมาย -- หลวงพ่อโสธร : ระหว่างศรัทธากับการอนุรักษ์ -- โบสถ์วัดโพธิ์รัชกาลที่ 1 ในบันทึกจอห์น ครอว์เฟิร์ด -- ราโชมอนบนยอดเขาพระสุเมรุ -- ฌาปนสถานคณะราษฎร
สาระสังเขปรวมบทความจากคอลัมน์พื้นที่ระหว่างบรรทัดในมติชนสุดสัปดาห์ของ ชาตรี ประกิตนนทการ เน้นเรื่องพื้นที่ (Space) และความหมายนัยซ่อนเร้น แฝงฝังด้วยอุดมการณ์ในสถาปัตยกรรมที่พบเห็นได้ในชีวิตประจำวัน แบ่งเป็น 3 ส่วน ได้แก่ พื้นที่เมือง ว่าด้วยความนัยที่ยอกย้อนซ่อนเร้นของการออกแบบพื้นที่เมือง ตั้งแต่เมืองที่กำลังเปลี่ยนกลายไปสู่เมืองของชนชั้นสร้างสรรค์ ปัญหาการศึกษาสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นในพื้นที่เมือง ความท้าทายใหม่ของศาสตร์ว่าด้วย Neuroarchitecture ต่อการออกแบบและวางผังเมือง ตลอดจนประวัติศาสตร์การเมืองของพื้นที่สาธารณะในสังคมไทย พื้นที่ความเชื่อ ถอดรหัสความหมายของปรากฎการณ์ทางศิลปะและสถาปัตยกรรมที่อยู่ในพื้นที่ความเชื่อทางศาสนา ที่บางอย่างก็กลายมาเป็นมายาคติร่วมกันของสังคม บางอย่างก็เป็นปมขัดแย้งทางความเชื่อระหว่างผู้คน และบางอย่างก็เป็นข้อถกเถียงทางวิชาการที่ต้องได้รับการทบทวนใหม่ พื้นที่อุดมการณ์วิเคราะห์นัยยะทางการเมืองที่แฝงอยู่ในงานออกแบบเมืองและงานสถาปัตยกรรมซึ่งสอดคล้องกับความขัดแย้งทางการเมืองร่วมสมัยของไทย หลายกรณีเป็นปรากฏการณ์ในงานออกแบบที่ดูเล็กน้อยเสมือนไม่มีนัยสำคัญ แต่แท้จริงแล้วได้ซ่อนแฝงอุดมการณ์ทางการเมืองเอาไว้อย่างลึกซึ้งและแนบเนียน
หัวเรื่องสถาปัตยกรรม -- ไทย (8)
 สถาปัตยกรรมกับรัฐ -- ไทย (4)
 สถาปัตยกรรมกับสังคม -- ไทย (3)
ฉบับปัจจุบันที่มีLIC
หน้าปก

ส่งหน้านี้ไปยังสมาร์ทโฟน




ฐานข้อมูลปัจจุบัน
ฐานข้อมูลหลัก
(Total 31100 Bib)
กลับสู่ด้านบน

© 2024. Book Promotion & Service Co.,Ltd. · เจ้าหน้าที่เข้าสู่ระบบ · ติดต่อห้องสมุด