Page 18 - 22432_fulltext
P. 18

17


               นโยบายการแข่งขันทางการค้า อาจกล่าวได้ว่า ไม่เป็นจริงเสมอไปที่โลกซึ่งใช้ระบบการแข่งขันภายในประเทศ

               จะท าให้เกิดผลดีที่สุดต่อสวัสดิการในระดับโลก เนื่องจากผู้ก าหนดนโยบายภายในประเทศจะให้ความส าคัญกับ
                                                            47
               ผลประโยชน์ของชาติมากกว่าสวัสดิการในระดับโลก  ซึ่งในโลกที่ปราศจากสิทธิสภาพนอกอาณาเขต การ
                                                                                    48
               แข่งขันมักจะถูกก ากับดูแลน้อยเกินไปเมื่อมองจากมุมมองของสวัสดิการในระดับโลก

                       ในสถานการณ์ปัจจุบันที่ยังไม่มีข้อตกลงการแข่งขันทางการค้าในระดับโลกหรือการร้องขอโดยความ

               ร่วมมือทางความสัมพันธ์ฉันท์มิตร (positive comity request) นั้นยังไม่ประสบความส าเร็จเท่าที่ควร เมื่อรัฐ
               สูญเสียความสามารถในการแข่งขันและตามมาด้วยการสูญเสียสวัสดิการจากการกระท าต่อต้านการแข่งขันที่

               เกิดขึ้นในต่างประเทศ (เช่น การตกลงราคาร่วมกัน (price fixing cartel) ในต่างประเทศ หรือพฤติกรรมการ

               จัดจ าหน่ายที่ต่อต้านการแข่งขันในต่างประเทศ) รัฐย่อมได้รับประโยชน์จากการใช้กฎหมายของตนนอกอาณา
               เขต เนื่องจากหากเลือกอีกทางเลือกหนึ่ง ซึ่งคือการไม่บังคับใช้กฎหมายนอกอาณาเขต จะเป็นการยอมรับการ

                            49
               สูญเสียดังกล่าว

                       หากประเทศไทยบังคับใช้กฎหมายการแข่งขันทางการค้านอกอาณาเขต ประเทศไทยจะได้เปรียบใน

               การก าหนดกฎข้อบังคับทั้งที่เป็นสารบัญญัติและการเยียวยาที่จะน าไปบังคับใช้ การมีอิสระในการตัดสินนี้มี
               ความส าคัญเนื่องจากแต่ละรัฐมีเกณฑ์การประเมินที่แตกต่างกันออกไปอย่างมากในการก าหนดรูปแบบของกฎ

               ข้อบังคับเกี่ยวกับการแข่งขันทางการค้าที่เหมาะสมที่สุด ซึ่งรวมถึงข้อจ ากัดในแนวดิ่ง (vertical restraint) การ






               ทฤษฎีทางเลือกสาธารณะนั้น ผู้ก าหนดนโยบายจะกระท าการอย่างมีเหตุผล หรือในลักษณะที่เป็นการแสวงหาอรรถประโยชน์

               ให้กับตนเอง (rational or self-interested manner) ดังนั้น การตัดสินใจจะขึ้นอยู่กับกลุ่มที่สามารถแสวงหาผลประโยชน์
               ทางด้านการเมือง การเงิน และผลประโยชน์ส่วนตนอื่น ๆ ให้กับผู้ก าหนดนโยบายได้สูงที่สุด ซึ่งโดยปกติแล้ว กลุ่มนี้จะเป็นกลุ่ม
               ที่มีต้นทุนขององค์กรต่ าที่สุด โดยในกรณีส่วนใหญ่จะเป็นผลประโยชน์ในท้องถิ่น ซึ่งคือผลประโยชน์ของผู้ผลิต อันเป็นที่สนใจ

               ของผู้ออกกฎหมายและก าหนดนโยบายการแข่งขัน อย่างไรก็ตาม อาจไม่เป็นเช่นนั้นเสมอไปเนื่องจากมีความเป็นไปได้ว่า
               ผลประโยชน์ในต่างประเทศหรือระหว่างประเทศอาจครอบง าการตัดสินใจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศที่มีขนาดเล็กและมี
               การพัฒนาทางเศรษฐกิจน้อยกว่า พร้อมถึงมีสถาบันทางการเมืองที่ไม่เป็นประชาธิปไตย

               47  Eleanor Fox, “Global Markets, National Law, and the Regulation of Business: A View from the Top,” (2001)
               75 St John’s Law Review 383, 39.
               48  ดู Andrew Guzman, “Is International Antitrust Possible?” (1998) 73 New York University Law Review 1501,

               1527;  William  S  Dodge,  “ Extraterritoriality  and  Conflict- of- Laws  Theory:   An  Argument  for  Judicial
               Unilateralism,”   ( 1998)   39 Harvard International Law Journal 101, 152–8; ดูเพิ่มเติม   William S Dodge, ‘An
               Economic Defense of Concurrent Antitrust Jurisdiction’ (2003) 38 Texas International Law Journal 27, 30–

               5.
               49  Andrew Guzman, “Is International Antitrust Possible?” (1998) 73 New York University Law Review 1501,
               1502.
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23