Page 19 - 22432_fulltext
P. 19
18
50
กระท าของหน่วยธุรกิจเดียวกัน (single firm conduct) และการควบรวมกิจการ หากดูอย่างผิวเผิน ตัว
บทบัญญัติในกฎข้อบังคับการแข่งขันทางการค้าของแต่ละรัฐอาจดูคล้ายคลึงหรือแม้กระทั่งเหมือนกัน แต่การ
บังคับใช้อาจแตกต่างกันไปตามแต่ละเขตอ านาจศาล ในกฎหมายการแข่งขันทางการค้ามีแนวโน้มการใช้
มาตรฐานที่มีลักษณะปลายเปิดและมีความยืดหยุ่น เช่น ค าว่า ‘การมีอ านาจเหนือตลาด’ (market
dominance) ‘อ านาจตลาด’ (market power) และ ‘การลดการแข่งขันเป็นอย่างมาก’ (substantial
lessening of competition) เพิ่มมากขึ้น โดยมาตรฐานเหล่านี้อาศัยแนวคิด เช่น ‘ตลาด และ ‘การแข่งขัน’
51
ซึ่งเป็นที่รู้กันโดยทั่วไปว่าเป็นค าที่เปิดกว้างต่อการให้ค านิยามและการน าไปใช้ที่แตกต่างกันออกไป เมื่อไม่มี
ความหมายที่ตายตัวหรือที่เป็นสากล การตีความมาตรฐานในกฎหมายจึงมีความเปิดกว้างโดยขึ้นอยู่กับปัจจัย
ทางวัฒนธรรม การเมือง และเศรษฐกิจตามแต่ละท้องถิ่น สิทธิสภาพนอกอาณาเขตจะช่วยลดความไม่แน่นอน
บางส่วนที่เกี่ยวข้องกับการทดสอบผลกระทบต่อการแข่งขัน เนื่องจากรัฐจะมีบรรทัดฐานเดิมเป็นแนวทางใน
การตีความ ตัวอย่างเช่น สหรัฐอเมริกาได้พัฒนาการตีความที่ซับซ้อนและละเอียดส าหรับบทบัญญัติใน
52
Sherman Act ที่ใช้ค ากว้าง ๆ ตลอดระยะเวลากว่า 100 ปี ซึ่งหากมีการร่างกฎข้อบังคับการแข่งขันทาง
การค้าระดับโลกใหม่ตั้งแต่ต้น กฎข้อบังคับนั้น ๆ จะขาดแง่มุมทางประวัติศาสตร์ดังกล่าว
เมื่อมีการบังคับใช้กฎหมายการแข่งขันทางการค้านอกอาณาเขต ประเทศไทยจะสามารถใช้
กระบวนการของตนเองได้ การตัดสินว่าจะบังคับใช้หรือไม่นั้นจะไม่ได้ขึ้นอยู่กับระบบตุลาการหรือหน่วยงาน
ของรัฐ เนื่องจากทั้งสองภาคส่วนจะได้ท าการตัดสินใจเกี่ยวกับการบังคับใช้กฎหมายร่วมกัน ซึ่งลักษณะที่การ
ตัดสินใจร่วมกันนี้จะแตกต่างกันไปตามแต่ละเขตอ านาจศาลโดยขึ้นอยู่กับลักษณะตามรัฐธรรมนูญ
53
ประวัติศาสตร์ และสังคมในแต่ละท้องถิ่น ตัวอย่างเช่น ในระบบการบังคับใช้กฎการต่อต้านการผูกขาดของ
50 ส าหรับภาพรวมของระบบการแข่งขัน ดู Jürgen Basedow (ed), Limits and Control of Competition with a View
to International Harmonization (2002).
51 John Duns, Mark Davison and Caron Beaton-Wells, Competition Law: Cases and Materials (2nd ed, 2006)
40.
52 ดูตัวอย่างเช่น William Kovacic, ‘The Modern Evolution of US Competition Policy Enforcement Norms’
(2003) 71 Antitrust Law Journal 377.
53 ประเด็นนี้ไม่สามารถใช้ส าหรับทุกระบบการแข่งขันได้ ตัวอย่างเช่น ส าหรับรัฐในช่วงการเปลี่ยนผ่านจากระบบเศรษฐกิจ
แบบรวมศูนย์ไปสู่เศรษฐกิจแบบตลาดโดยอาศัยแบบอย่างของตะวันตกที่ไม่ค่อยมีความเกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์รัฐธรรมนูญ
หรือสังคมในท้องถิ่น ซึ่งประเด็นเรื่องที่ไม่มีเหตุในการใช้นี้สามารถเห็นได้จาก: ดูตัวอย่างเช่น Michael Egge ที่อ้างถึงตัวอย่าง
การผดุงราคาขายต่อในบางประเทศในยุโรปตะวันออกที่เพิ่งเปลี่ยนระบอบการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตย: “The
Harmonization of Competition Laws Worldwide,” ( 2001) 2 Richmond Journal of Global Law and Business
93, 95. Egge ได้กล่าวไว้ว่า แม้ว่ากฎหมายจะอนุญาตให้มีการผดุงราคาขายต่อ หน่วยงานก ากับดูแลของประเทศบางแห่งก็
ห้ามการกระท านี้เพียงเพราะเป็นเรื่องของค าสั่งในทางระบบราชการ (bureaucratic fiat).