Page 30 - 22432_fulltext
P. 30

29


                       จากสถานการณ์ที่ 1 ข้างต้น การสมคบกันระหว่างบริษัท 1 และบริษัท 2 เพื่อลดการขายแร่ X นอก

               ประเทศไทยนั้นถือเป็นการกระท าที่เกิดขึ้นในต่างประเทศทั้งหมด แต่มีผลกระทบต่อการค้าแร่ X ในประเทศ
               ไทย ในประเทศที่มีการใช้สิทธิสภาพนอกอาณาเขตในกฎหมายการแข่งขันทางการค้า โดยเบื้องต้นแล้ว

               สถานการณ์นี้จะอยู่ในขอบเขตอ านาจศาลเนื่องจากการสมคบกันดังกล่างส่งผลกระทบท าให้ราคาขายแร่ X

               ภายในประเทศเพิ่มสูงขึ้น แต่หากตีความโดยเคร่งครัดว่าคณะกรรมการการแข่งขันทางการค้าของไทยไม่
               สามารถสืบสวนบริษัท 1 และ บริษัท 2 ได้เนื่องจากไม่มีเขตอ านาจเหนือกรณีนี้ ย่อมท าให้การบังคับคดีนั้นไม่

               อาจเริ่มต้นขึ้นได้ เพราะอ านาจในการฟ้องคดีอาญานั้นเป็นของคณะกรรมการฯ ตามกฎหมาย


                       สถานการณ์ที่ 2: บริษัท 1 และบริษัท 2 มีโรงงานตั้งอยู่ในประเทศอัลฟ่า โดยที่พวกเขาเป็นผู้ผลิต

                       ส่วนประกอบ X ซึ่งเป็นชิ้นส่วนฮาร์ดแวร์ที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูงที่ถูกน าไปใช้ในผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์
                       บริษัท 1 และบริษัท 2 ตกลงร่วมกันที่จะขึ้นราคาส่วนประกอบ X ที่ขายให้กับผู้ประกอบผลิตภัณฑ์

                       ส าเร็จรูป โดยผู้ประกอบประกอบผลิตภัณฑ์เหล่านี้มีโรงงานในประเทศเบต้า ซึ่งน าส่วนประกอบ X มา

                                                                                  83
                       ประกอบเป็นผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ส าเร็จรูปที่จ าหน่ายในประเทศไทย

                       ในสถานการณ์ที่ 2 บนสมมติฐานว่าบริษัท 1 และบริษัท 2 ไม่ได้ขายหรือส่งออกเพื่อการส่งมอบ
               ส่วนประกอบ X ในประเทศไทย การสมคบกันเพื่อก าหนดราคาของส่วนประกอบ X เป็นการกระท าที่เกี่ยวข้อง

               กับการค้าในต่างประเทศทั้งหมด เนื่องจากเป็นการค้าระหว่างประเทศอัลฟ่าและเบต้า ดังนั้น การกระท าของ

               พวกเขาจะภายในขอบเขตการบังคับใช้ของ พ.ร.บ.การแข่งขันฯ พ.ศ. 2560 แม้ว่าจะก่อให้เกิดผลกระทบต่อ
               ตลาดไทยก็ตาม ในทางกลับกัน หากประเทศสามารถที่จะอาศัยสิทธิสภาพนอกอาณาเขตได้ ซึ่งท าให้ประเทศ

               เหล่านี้มีอ านาจมากขึ้นในการน ากฎหมายการแข่งขันของตนไปบังคับใช้กับบริษัท 1 และบริษัท 2


                       สถานการณ์ที่ 3: บริษัท 1 และบริษัท 2 มีโรงงานตั้งอยู่ในประเทศอัลฟ่าซึ่งผลิตวิดเจ็ต (widget) X
                       ต่อมา บริษัท 1 และบริษัท 2 ตกลงที่จะก าหนดราคาวิดเจ็ต X ให้ที่สูงขึ้น โดยที่ทั้งสองบริษัทเป็น

                                                                          84
                       ผู้ขายวิดเจ็ต X ให้กับลูกค้าทั่วโลกซึ่งรวมถึงในประเทศไทยด้วย

                       การสมคบกันระหว่างบริษัท 1 และบริษัท 2 ในการก าหนดราคาวิดเจ็ต X เป็นการกระท าที่เกี่ยวข้อง

               กับธุรกิจน าเข้าของประเทศไทย บนสมมติฐานว่าบริษัท 1 และบริษัท 2 ไม่มีบริษัทในเครือหรือตัวแทนใน
               ประเทศไทย หน่วยงานการแข่งขันของไทยจะสืบสวนหรือบังคับใช้มาตรการใด ๆ กับบริษัท 1 และบริษัท 2 ได้

               อย่างยากล าบากเนื่องจาก พ.ร.บ.การแข่งขันฯ พ.ศ. 2560 ไม่ได้เปิดช่องให้สามารถบังคับใช้นอกอาณาเขตได้

               มากนัก ทั้งนี้ พ.ร.บ.การแข่งขันฯ พ.ศ. 2560 อาจบังคับใช้ได้หากมีผู้น าเข้าวิดเจ็ต X ในประเทศไทยที่มี
               ข้อตกลงในการก าหนดราคาร่วมกับบริษัท 1 และบริษัท 2 อย่างไรก็ตาม ในกรณีนั้นจะมีเพียงผู้น าเข้าเท่านั้นที่

               จะถูกสืบสวนกรณีต้องสงสัยว่าได้กระท าการละเมิด พ.ร.บ.การแข่งขันฯ พ.ศ. 2560 มาตรา 58  (การตกลง



               83  DoJ/FTC International Guidelines, p. 22.
               84  DoJ/FTC International Guidelines, p. 20.
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35