Page 8 - 22432_fulltext
P. 8

7


                       ส่วนที่ 2 ของบทความนี้จะกล่าวถึงหลักทั่วไปที่เกี่ยวข้องกับความสามารถในการใช้เขตอ านาจศาล

               ของรัฐ ซึ่งจะน าไปสู่แนวความคิดเรื่องการที่รัฐบังคับใช้กฎหมายนอกอาณาเขต นั่นคือนอกเขตแดนของ
               ประเทศตนเองออกไป แม้ว่าประเด็นการบังคับใช้กฎหมายการแข่งขันทางการค้านอกอาณาเขตจะไม่ใช่

               ประเด็นใหม่ แต่ก็มีประเด็นที่ถกเถียงกันอยู่มากมายซึ่งยังไม่มีมติหรือมีข้อสรุปมาจนถึงทุกวันนี้ นอกจากนี้

               ส่วนที่ 2 จะแสดงให้เห็นถึงวิธีการที่บางประเทศ อาทิ สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ น าเอา
               สิทธิสภาพนอกอาณาเขตมาเป็นส่วนหนึ่งของระบบการแข่งขันของแต่ละประเทศ อย่างไรก็ตาม บทความนี้

               มุ่งเน้นที่จะกล่าวถึงสิทธิสภาพนอกอาณาเขตที่เกี่ยวกับพระราชบัญญัติการแข่งขันทางการค้า พ.ศ. 2560

               (“พ.ร.บ.การแข่งขันฯ พ.ศ. 2560”) เป็นส าคัญ

                       ส่วนที่ 3 ผู้เขียนจะพิจารณาความจ าเป็นที่กรรมการการแข่งขันทางการค้าของไทยควรพิจารณาการ

               น าเอาสิทธิสภาพนอกอาณาเขตมาใช้ในระบบการแข่งขันของไทย เนื่องจากการบังคับใช้กฎหมายโดย

               หน่วยงานด้านการแข่งขันทางการค้าโดยหลักแล้วจะมุ่งเน้นไปยังการปกป้องตลาดภายในประเทศ จึงมิได้
               ออกแบบมาเพื่อจ ากัดกิจกรรมซึ่งเป็นการต่อต้านการแข่งขันในที่อื่น สมมติฐานโดยทั่วไปคือแต่ละเขตอ านาจ

               ศาลจะปกป้องตลาดของตนเอง สิทธิสภาพนอกอาณาเขตจึงเป็นสิ่งจ าเป็นในการจ ากัดกิจกรรมซึ่งเป็นการ

               ต่อต้านการแข่งขันทางการค้าในต่างประเทศที่ไม่ได้ถูกคัดค้านโดยหน่วยงานด้านการแข่งขันทางการค้าในเขต
               อ านาจศาลอื่น ความสามารถในการใช้บทบัญญัติการแข่งขันทางการค้ากับกิจการในต่างประเทศท าให้บริษัท

               เหล่านั้นเพิกเฉยต่อเขตอ านาจศาลได้ยากขึ้น และเมื่อมีแรงสนับสนุนจากความสามารถในการบังคับใช้และ

               กรอบความร่วมมือที่เพียงพอ สิทธิสภาพนอกอาณาเขตจะกลายเป็นเครื่องมือส าคัญในการจ ากัดอ านาจของ
               บริษัท


                       ส่วนที่ 4 จะเน้นไปยังการวิเคราะห์ถ้อยค าที่ปรากฏใน พ.ร.บ.การแข่งขันฯ พ.ศ. 2560 โดยส่วนนี้จะ
               พยายามหาค าตอบโดยอิงจากบทบัญญัติและการตีความในปัจจุบันเพื่อตอบค าถามที่ว่า พ.ร.บ.การแข่งขันฯ

               พ.ศ. 2560 สามารถใช้นอกราชอาณาจักรได้หรือไม่ และส่วนนี้จะชี้ให้เห็นช่องว่างของกฎหมายและ

               สถานการณ์ที่อาจเกิดขึ้นซึ่งเกี่ยวข้องกับการกระท าต่อต้านการแข่งขันทางการค้าในต่างประเทศที่ส่งผลกระทบ
               ต่อตลาดของประเทศไทย ดังนั้น สิ่งนี้จึงน าเราไปสู่ส่วนที่ 5 ซึ่งคือส่วนข้อเสนอแนะ หลังจากที่ได้ค านึงถึงนัย

               ทางการเมืองและค่าใช้จ่ายตามปกติวิสัยที่เกี่ยวข้องกับการใช้สิทธิสภาพนอกอาณาเขต ข้อเสนอแนะดังกล่าวได้

               เน้นถึงความส าคัญของตัวเลือกที่จะกระท าการฝ่ายเดียว อย่างไรก็ตาม ยังคงต้องมีการใช้ความร่วมมือ
               เนื่องจากสิ่งนี้สามารถเป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพพอสมควรเช่นกันส าหรับประเทศขนาดเล็ก หรือที่ก าลัง

               พัฒนา
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13