Page 100 - kpi17733
P. 100

8


 พบว่าเป็นการสร้างปัญหามากกว่าเดิม เพราะต้องใช้เงินจำนวนมากในการพ่นยา 
  ของกลุ่ม และขอรับงบประมาณจากองค์การบริหารส่วนตำบล การประชาสัมพันธ์
 ทุกวันแต่ยังไม่สามารถกำจัดแมลงดำหนาม หนอนหัวดำได้หมด รวมทั้งสารเคมีที่  ชี้แจงข้อมูลและสนับสนุนให้กลุ่มเกษตรกรแก้ไขปัญหาจนสำเร็จอย่างเข้มแข็ง

 ปล่อยพ่นเป็นระยะๆ มีแนวโน้มเป็นอันตรายโดยตรงต่อเกษตรกรและผู้บริโภคทาง  จนสามารถกลายเป็นศูนย์เรียนรู้และการศึกษาดูงานการผลิตและขยายพันธุ์แตน
 อ้อม     เบียนเป็นหลักในพื้นที่ โดยกระบวนการมีส่วนร่วมระหว่างสมาชิกด้วยกันยังนำไปสู่
          การพัฒนาออกแบบกระบวนการผลิตเพื่อหาวิธีการป้องกันและกำจัดศัตรูพืชด้วยวิธี
 ทางกลุ่มจึงร่วมกันหาแนวทางในการป้องกันและควบคุมการระบาดของ
 แมลงดำหนามที่เรียกว่า “โรคหัวหงอก” เพราะแมลงดำหนาม หนอนหัวดำจะเข้าไป  อื่นๆ ที่ปลอดภัยต่อได้อีก เช่น วิธีการใช้กากน้ำตาลฉีดพ่นเพื่อให้เกิดเชื้อราไปกำจัด
 กัดกินและซ่อนตัวในใบอ่อนที่พับอยู่จนทำให้ยอดอ่อนของมะพร้าวชะงักการเจริญ  ศัตรูพืช เป็นต้น นอกจากนี้ทางกลุ่มยังถ่ายทอดความรู้ วิธีการเลี้ยง การเพาะพันธุ์
          การทดลองในแปลงทดสอบ และเปิดเป็นศูนย์ให้ยืมอุปกรณ์การเพาะเลี้ยงแตนเบียน
 เติบโตเปลี่ยนจากสีเขียวเป็นสีขาวในแต่ละต้น หากมีการทำลายอย่างรุนแรงมากจะ
 มองเห็นต้นมะพร้าวทั้งหมดเป็นสีขาวโพลนชัดเจนทั้งต้น ดังนั้น วิธีการกำจัดที่ดีที่สุด   ระหว่างสมาชิกที่ต้องการใช้ในการกำจัดศัตรูพืช รวมทั้งเครือข่ายศูนย์จัดการศัตรูพืช
          ชุมชนตำบลอื่นๆ
 คือ การกำจัดด้วยวิธีการเบียน (ให้แมลงกำจัดกันเอง) กลุ่มเกษตรกรชาวสวน
 มะพร้าวจึงนำเสนอปัญหาและโรคระบาดชนิดนี้ไปยังองค์การบริหารส่วนตำบลหนอง  ความสำเร็จที่โดดเด่นอย่างชัดเจน คือ สามารถยับยั้งสถานการณ์ระบาด
 ปลาไหลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อขอคำแนะนำ เช่น ขอความรู้จากวิทยากรจาก  ของแมลงดำหนาม หนอนหัวดำ ศัตรูของมะพร้าวด้วยชีววิธีได้อย่างมีประสิทธิภาพ

 สำนักงานเกษตรอำเภอเขาย้อย สำนักงานเกษตรจังหวัดเพชรบุรีซึ่งได้รับคำแนะนำให้  และทันท่วงที กลุ่มเกษตรกรและประชาชนในพื้นที่เกิดความรู้ความเข้าใจและเกิดการ
 ใช้วิธีดังกล่าวและสอนเรื่องเทคนิคการเพาะเลี้ยงแมลงกำจัดดังกล่าวจะได้ผลดีกว่า  แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันถึงวิธีการกำจัดการแพร่ระบาดของศัตรูพืชอย่างมี
 และมีความปลอดภัยมากกว่า โดยเกษตรกรจะปล่อยให้แตนเบียนเข้าไปวางไข่และ  ประสิทธิผล มีความโปร่งใสและเปิดเผยข้อมูลร่วมกันระหว่างกลุ่มเกษตรกรและ
 ฟักตัวด้วยการกัดกินแมลงดำหนามซึ่งเข้าไปกัดกินยอดอ่อนที่สุดของมะพร้าวอีกที    องค์การบริหารส่วนตำบลหนองปลาไหล และสามารถเผยแพร่ความรู้ดังกล่าวไปยัง
          พื้นที่ใกล้เคียงจนกลายเป็นศูนย์การเรียนรู้ด้านการกำจัดศัตรูพืชโดยไม่ใช้สารเคมี
 ทางกลุ่มเกษตรกรจึงรวมกลุ่มกันเพื่อระดมปัจจัยการผลิตในการเพาะเลี้ยง
 วัสดุอุปกรณ์ตามความสามารถของสมาชิกกลุ่มเอง เช่น ซื้อกล่องพลาสติกทรง  และที่สำคัญที่สุดคือ การยับยั้งอันตรายจากการใช้สารเคมีในการเกษตรกรรมอันจะ
          ส่งผลเสียต่อสุขภาพของตัวเกษตรกรและประชาชนผู้บริโภคทั้งในและนอกพื้นที่ตำบล
 กระบอกพร้อมฝาปิด รำแป้ง ปลายข้าว ฯลฯ เพื่อเพาะเลี้ยงแตนเบียน ต่อมาได้รับ
 การช่วยเหลือและสนับสนุนเพิ่มเติมจากองค์การบริหารส่วนตำบลหนองปลาไหลเพื่อ  หนองปลาไหล
 ทำการเพาะเลี้ยงเพิ่มเติมและขยายพันธุ์แมลงดังกล่าวไปยังกลุ่มเกษตรกรอื่นๆ
 นอกจากนี้ องค์การบริหารส่วนตำบลหนองปลาไหลยังร่วมกับกลุ่มดังกล่าวทำ  โครงการกลุ่มแม่บ้านผลิตน้ำดื่มตำบลหนองปลาไหล
 กิจกรรมการสำรวจเกษตรกรกลุ่มเสี่ยงที่ใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชในการเกษตรกรรม  โครงการดังกล่าวเป็นผลประโยชน์ที่ได้รับจากการที่องค์การบริหารส่วนตำบล
 เป็นประจำ และตรวจเลือดเพื่อหาสารเคมีตกค้างในร่ายกายพบว่ามีความเสี่ยง  หนองปลาไหลได้รับงบประมาณเพิ่มเติมจากการจัดโครงการเทศกาลนกอินทรี ของดี

 อันตรายต่อสุขภาพ    เมืองเพชร ประจำปี 2557 การจัดงานดังกล่าวนำมาซึ่งงบประมาณจากจังหวัดที่เข้า

 โครงการดังกล่าวแสดงให้เห็นถึงกระบวนการมีส่วนร่วมและความโปร่งใส  
  มาปรับปรุงระบบประปาจากประปาหมู่บ้านให้เป็นระบบประปาภูมิภาคที่มีมาตรฐาน
 ที่โดดเด่น ตั้งแต่การริเริ่มของกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่ตั้งแต่แรกเริ่มในการแก้ไขปัญหา  สากลให้กับประชาชนครบทั้ง 5 ชุมชน หลังจากนั้น กลุ่มแม่บ้านตามชุมชนต่างๆ


 รางวัลพระปกเกล้า’ 58                                         รางวัลพระปกเกล้า’ 58
   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105