Page 193 - kpi17733
P. 193
1 2 1
มาศึกษาดูงานรวมถึงมอบหมายให้เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์เป็นต้นแบบในการจัดการ 1. โครงการกองทุนจิตอาสาพัฒนาสิ่งแวดล้อมเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์
ขยะและกระจายองค์ความรู้และนำไปประยุกต์ใช้ในพื้นที่ของตนเอง ปี พ.ศ. 2556 และกลุ่มคนรักถุง
เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ร่วมกับสถาบันพระปกเกล้าขยายต่อโครงการ “ชุมชนไร้ถัง” ปัจจุบันมีสมาชิกกองทุนจิตอาสาพัฒนาสิ่งแวดล้อมเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์
ไปยังชุมชนใหม่ๆ ในปี พ.ศ. 2557 มีการขยายชุมชนไร้ถังได้ถึง 24 ชุมชน มีการ
ดำเนินการจัดทำขยะอินทรีย์เลี้ยงไส้เดือนร่วมกับคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัย และกลุ่มคนรักถุง 633 ครัวเรือน สามารถรวบรวมขยะรีไซเคิลได้ประมาณวันละ 1.5 ตัน
หรือปีละ 540 ตัน เป็นการลดปริมาณขยะที่ต้องนำไปกำจัดและยังมีรายได้ให้แก่
ขอนแก่น ขยายการคัดแยกขยะสู่ อสม. และรณรงค์การคัดแยกขยะสู่ห้าง
สรรพสินค้า ประชาชนและสมาชิก เป็นสถานที่ศึกษาดูงาน เป็นนวัตกรรมต้นแบบให้แก่ท้องถิ่นอื่น
สามารถนำไปปฏิบัติได้จริง ทำให้เกิดปราชญ์ในชุมชนเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ได้
ในการดำเนินงานของเครือข่ายการจัดการขยะมูลฝอยเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์
นั้น เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการประสานและสนับสนุน
2. โครงการชุมชนปลอดถังขยะ
เครือข่ายต่างๆ เพื่อให้ดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติ ปัจจุบันมีสมาชิกครอบคลุม 32 ชุมชน จำนวน 3,956 ครัวเรือน สามารถลด
และสิ่งแวดล้อมจังหวัดกาฬสินธุ์ ทำหน้าที่เป็นแหล่งงบประมาณหรือแสวงหา
ปริมาณถังขยะใหญ่ริมถนนได้ 152 ใบ ลดปริมาณขยะในชุมชนได้กว่าวันละ 2.5 ตัน
งบประมาณและสนับสนุนความรู้ทางวิชาการ รวมถึงเป็นสื่อกลางในการจัดการขยะ
ร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ ให้กับเทศบาล โดยเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ดำเนินการกระจาย 3. เครือข่ายการจัดการขยะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดกาฬสินธุ์
องค์ความรู้สู่ชุมชนเพื่อให้เกิดเป็นรูปธรรมและเก็บรวบรวมข้อมูลให้แก่สำนักงาน โดยมีเทศบาล 4 แห่งที่สามารถดำเนินการด้านการจัดการขยะได้อย่างมี
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดกาฬสินธุ์ นอกจากนี้ ยังมีสถาบันการ ประสิทธิภาพ ดังนี้
ศึกษาในพื้นที่ทำหน้าที่เป็นแหล่งวิชาการ โดยทำการศึกษาวิจัยและนำเอาผลการวิจัย
มาประยุกต์ใช้ในการดำเนินงาน ส่วนโรงเรียนในสังกัดเทศบาลดำเนินการถ่ายทอด 1 เทศบาลตำบลสมเด็จ นำองค์ความรู้ไปก่อตั้ง “ชุมชนจิตอาสารักษ์
องค์ความรู้ให้แก่เยาวชนเพื่อนำองค์ความรู้มาปฏิบัติและนำผลที่ได้ขยายไปสู่ชุมชน สิ่งแวดล้อม ได้จำนวน 6 ชุมชน คือหมู่ที่ 2,3,4,5,6,10 สามารถลด
เพื่อให้ชุมชนนำไปปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ และกลไกหนึ่งซึ่งมีความสำคัญใน ปริมาณขยะได้ถึง 46 ตัน (ระหว่างเดือนเมษายน 2557- เดือนกันยายน
การจัดการขยะของเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ คือ กองทุนจิตอาสาพัฒนาสิ่งแวดล้อม 2558) มีการนำสายพันธุ์ไส้เดือนดินจากเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ไปทดลอง
เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ซึ่งเป็นส่วนที่ดำเนินงานเชื่อมต่อระหว่างเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ เลี้ยงเพื่อขยายสู่ชุมชน
และประชาชนในการคัดแยกขยะตั้งแต่ในครัวเรือน รวมถึงเป็นที่ศึกษาดูงาน และ 2 เทศบาลตำบลหนองกุงศรี นำองค์ความรู้ไปก่อตั้ง “กองทุนจิตอาสาพัฒนา
กระจายองค์ความรู้ร่วมกับเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นๆ สิ่งแวดล้อมเทศบาลตำบลหนองกุงศรี จำนวน 3 หมู่บ้าน และสามารถ
ที่มีความสนใจในการจัดการขยะ เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในชุมชนของตนเองเพื่อลด ลดปริมาณขยะในเดือนแรกลงได้จำนวน 2 ตัน
ปริมาณขยะ ทั้งนี้ เทศบาลเมืองกาฬสินธุ์เป็นผู้สนับสนุนการดำเนินงานจัดทำข้อมูล
ตรวจสอบระบบบัญชี เพื่อให้ประชาชนเกิดความเชื่อมั่นในการทำงานของกองทุน
3 เทศบาลตำบลยางตลาด นำองค์ความรู้ไปก่อตั้ง “กองทุนจิตอาสาพัฒนา
จิตอาสาฯ นี้ ทั้งหมดนี้ล้วนเป็นเครือข่ายนำไปสู่การดำเนินงานที่เป็นรูปธรรม ดังนี้ สิ่งแวดล้อมเทศบาลตำบลยางตลาด” ดำเนินการตั้งแต่ปี 2557 สามารถ
ลดปริมาณขยะได้ 44.41 ตัน มีการจัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือนร่วมกับ
รางวัลพระปกเกล้า’ 58 รางวัลพระปกเกล้า’ 58