Page 229 - kpi17733
P. 229
228 22
เทศบาลเมืองหนองปรือ วางแนวคิดหลักการบริหารในการเสริมสร้าง
โครงการศูนย์การเรียนรู้ศูนย์ 3 วัย พัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นเลิศตาม
เครือข่ายภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมให้เข้มแข็ง ด้วยบริบทของพื้นที่ ศักยภาพผู้เรียน SBMLD (School Best Management Local
เมืองหนองปรือตั้งอยู่ใกล้กับเมืองพัทยาซึ่งเป็นเมืองท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงทำให้มีผู้คน Development)
หลั่งไหลมาจากทั่วประเทศและทั่วโลก ส่วนหนึ่งมีจุดประสงค์เพื่อมาท่องเที่ยว
เทศบาลเมืองหนองปรือใช้แนวคิด “ดึงพลังชุมชน หนุนพลังเด็ก” มาบริหาร
ส่วนหนึ่งมีจุดประสงค์เพื่อมาหางานทำในเมืองพัทยา ดังนั้น เมืองหนองปรือจึงกลาย สถานศึกษาในสังกัดของตนเองโดยได้ปฏิรูปการศึกษา ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้
เป็นเมืองรองรับจากเมืองพัทยา โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมืองหนองปรือเปรียบเสมือนเป็น เพื่อให้ผู้เรียนเป็นคนเก่ง ดี มีสุข ตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ง
ห้องนอนและห้องครัวของผู้คนที่มาทำงานรองรับการท่องเที่ยวของเมืองพัทยา
ประชาชนที่มาอาศัยอยู่มาจากหลายจังหวัดทั่วประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งแรงงาน ชาติ พ.ศ. 2542 (แก้ไข พ.ศ. 2545) โดยเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามามี
ส่วนร่วมในการจัดการศึกษาตามแนวความคิดการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
ภูมิภาคอาเซียน มีหลากหลายเชื้อชาติ ศาสนา วัฒนธรรม ด้วยเหตุนี้เอง ทำให้เมือง (School Based Management : SBM) ด้วยความเชื่อที่ว่า การตัดสินใจที่ดีที่สุด
หนองปรือเป็นเมืองที่มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วแบบก้าวกระโดดอย่างมาก
น่าจะเกิดจากการตัดสินใจของคณะบุคคลผู้มีส่วนได้เสีย ที่อยู่ใกล้ชิดและมีส่วน
การเจริญเติบโตดังกล่าวก่อให้เกิดผลกระทบทั้งเชิงบวกและเชิงลบ เชิงบวก คือ เกี่ยวข้องกับนักเรียนมากที่สุด จึงจัดให้มีโครงการศูนย์การเรียนรู้ ศูนย์ 3 วัย
เศรษฐกิจดี ประชาชนมีงานทำ เชิงลบ คือ มีการอพยพย้ายถิ่นมาอยู่ในพื้นที่มากขึ้น
ทุกปี ส่วนใหญ่เป็นประชากรแฝง ปัญหาเหล่านี้ต้องอาศัยพลังความร่วมมือจากหลาย กล่าวคือ วัยแรก คือ ผู้เรียน วัยสอง คือ ผู้ปกครองและครู วัยสาม คือ ผู้สูงอายุ
ซึ่งเป็นการบริหารตามความต้องการและจำเป็นของสถานศึกษาให้ผู้ปกครอง ครู
หน่วยงานและทุกภาคส่วนทั้งภาคขององค์กรของรัฐ องค์กรเอกชน และภาคประชา
สังคม มาบูรณาการทำงานร่วมกันเพื่อให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของเทศบาลเมือง นักเรียนและผู้สูงอายุได้ทำกิจกรรมร่วมกันตามความประสงค์ที่ตกลงกันไว้ ทั้งสามวัย
หนองปรือในการเป็น “เมืองน่าอยู่ ผู้คนสมานฉันท์ ผูกพันวัฒนธรรม เลิศล้ำ
จะช่วยกันระดมความคิด (Plan) ร่วมตัดสินใจ (Decision Making) ร่วมทำ
(Implementation) และร่วมประเมิน (Evaluation) เพื่อเกิดการจัดการสอนที่มี
การเรียนรู้” โดยเทศบาลใช้วิธี “การพัฒนาแบบบูรณาการเป็นองค์รวม ที่มีคนเป็น
ศูนย์กลางของการพัฒนา” เชื่อมโยงทุกมิติ คือ มิติตัวคน มิติทางการเมืองท้องถิ่น ประสิทธิภาพและประสิทธิผล ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มศักยภาพทั้งด้านความรู้ คุณธรรม
จริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์โรงเรียนได้จัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับเนื้อหาสาระ
มิติเศรษฐกิจ มิติสิ่งแวดล้อม มิติสังคมและวัฒนธรรม เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันให้
สามารถเผชิญ ก้าวทันกับความเปลี่ยนแปลงของสังคมที่เกิดขึ้น ทั้งระดับ ของหลักสูตรที่เหมาะสม มีการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับเป้าหมายการศึกษา
ความต้องการผู้เรียนและมรดกของท้องถิ่น
ปัจเจกบุคคล ครอบครัว ชุมชนและสังคม
ด้วยเหตุนี้เอง โรงเรียนอนุบาลเทศบาลเมืองหนองปรือ จึงได้จัดโครงการ
สำหรับ เครือข่ายและการดำเนินงาน ที่สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นเลิศด้านการ
เสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม ของ เทศบาลเมืองหนองปรือ ดังกล่าวขึ้นเพื่อให้เครือข่ายผู้ปกครองซึ่งเป็นเครือข่ายหลักและเครือข่ายรองจาก
ได้แก่ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและภาคส่วนต่างๆ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาสังคม
ได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาผู้เรียนในโรงเรียนอนุบาลเทศบาลเมืองหนองปรือ และ
พัฒนาให้กลายเป็นสถานศึกษาที่มีคุณภาพควบคู่ไปกับความรู้ทางภูมิปัญญาท้องถิ่น
ก้าวสู่ความเป็นเลิศ และโดดเด่นมีมาตรฐานสามารถแข่งขันทัดเทียมนานาชาติได้
รางวัลพระปกเกล้า’ 58 รางวัลพระปกเกล้า’ 58