Page 243 - kpi17733
P. 243

2 2                                                                                                                                                       2


              เทศบาลเมืองเขาสามยอด มีวิสัยทัศน์ที่ว่า “4 ปี ต่อไปนี้คุณภาพจะดีขึ้น 
          877-1,473 มม./ ปี มีพื้นที่น้ำท่วมขัง 20 ชุมชน ระยะเวลาท่วมขังโดยเฉลี่ย 45 วัน
        ทุกด้าน การศึกษาขั้นพื้นฐานจะเป็นเลิศ” ซึ่งมีประเด็นยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนา           ต่อปี

        5 ประเด็น ได้แก่                                                                            จนกระทั่งปี 2553 เทศบาลเมืองเขาสามยอดเห็นว่าควรแก้ไขปัญหา
              1) ประเด็นคุณภาพชีวิต ที่ต้องผ่านเกณฑ์พื้นฐาน                                   อย่างเป็นระบบ จึงได้จัดประชุมประชาคมเพื่อระดมความคิดเห็นหาแนวทางแก้ไข
              2) ประเด็นเศรษฐกิจที่ให้ความสำคัญกับพออยู่พอกิน                                 ปัญหาอย่างยั่งยืน จากนั้นเครือข่ายชุมชนเทศบาลเมืองเขาสามยอดนำปัญหาและ
              3) ประเด็นสุขภาพ ซึ่งเน้นการมีสุขภาวะที่ดี                                      แนวคิดเสนอต่อผู้ว่าราชการจังหวัดลพบุรี หลังจากการจัดประชุมส่วนราชการระดับ
              4) ประเด็นการศึกษาที่มุ่งเน้นมาตรฐานการศึกษา                                    จังหวัด ผู้ว่าราชการจังหวัดลพบุรีได้แต่งตั้ง “คณะกรรมการบริหารจัดการน้ำอย่าง

              5) ประเด็นการบริหารจัดการที่ทันสมัย และมีมาตรฐานระดับประเทศ
                                                                                              เป็นระบบ” และมีการจัดทำบันทึกข้อตกลงเพื่อแบ่งมอบหน้าที่การบริหารจัดการน้ำ
              การบริหารงานท้องถิ่นในบริบทที่มีความความเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา   
             โดยเทศบาลเมืองเขาสามยอดรับหน้าที่เป็นผู้รับผิดชอบขับเคลื่อนประสานงาน
        ทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ฯลฯ ให้สามารถบรรลุผลตามที่ตั้ง  
          เครือข่าย ทั้งด้านงบประมาณ สถานที่ เครื่องจักร อุปกรณ์
        เป้าหมายไว้เป็นเรื่องที่มีความท้าทายอย่างมาก ลำพังแต่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
                                                                                                    ในปี 2554 คณะกรรมการบริหารจัดการน้ำอย่างเป็นระบบได้ร่วมกันแก้ไข
        เองซึ่งมีข้อจำกัดทั้งอำนาจหน้าที่ งบประมาณ รวมถึงบุคลากร ไม่สามารถทำให้               ปัญหาน้ำท่วม โดยร่วมทั้งด้านบุคลากร งบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ

        องค์กรบรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ได้ ผู้บริหารเทศบาลเมืองเขาสามยอดจึงได้ยึดแนวทาง         และเทคโนโลยี พื้นที่ระบายน้ำ รวมทั้งพื้นที่รับน้ำ โดยมีสมาชิกเครือข่ายรวม
        “เป็นผู้นำโดยไม่ต้องนำ” แต่ใช้พลังของเครือข่ายภาคส่วนต่าง ๆ เข้ามามีส่วนร่วมใน        17 เครือข่าย ซึ่งมาจาก 15 หน่วยงานราชการ และ 2 เครือข่ายจากภาคประชาชน
        การดำเนินการไปพร้อมกัน
                                                                                              โดยแต่ละเครือข่ายมีหน้าที่ ดังนี้
        สำหรับ เครือข่ายและการดำเนินงาน ที่สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นเลิศ ด้านการ
        เสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม ของเทศบาลเมืองเขาสามยอด                    
     ๏ สนับสนุนด้านบุคลากร ได้แก่ หน่วยทหารในพื้นที่ สำนักงานชลประทาน
                                                                                                      ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด
        ได้แก่

                                                                                              
     ๏ สนับสนุนงบประมาณ ได้แก่ จังหวัดลพบุรี กรมป้องกันและบรรเทา

        การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (แก้ไขปัญหาน้ำท่วมซ้ำซาก)                                        สาธารณภัย กรมทรัพยากรน้ำ แขวงการทางลพบุรี

              เนื่องจากภูมิประเทศของเทศบาลเมืองเขาสามยอดตั้งอยู่บริเวณเชิงเขาสามยอด
          
     ๏ สนับสนุนด้านเครื่องมือ วัสดุและอุปกรณ์ ได้แก่  ป้องกันและบรรเทา
        มีพื้นที่เป็นแอ่งกระทะ เป็นทางน้ำไหลผ่านไปลงแม่น้ำลพบุรี เขตพื้นที่ตำบล 
                     สาธารณภัยจังหวัด องค์การบริหารส่วนจังหวัดลพบุรี สำนักงาน
        เขาสามยอดและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใกล้เคียงจึงเกิดน้ำท่วมทุกปีมาตั้งแต่ปี                   ชลประทาน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และสโมสรโรตารีประเทศญี่ปุ่น
        2547 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่างดำเนินการแก้ปัญหาแบบเฉพาะหน้าแบบ  
                          สนับสนุนรถยนต์ดับเพลิง
        ต่างคนต่างทำ จนเกิดปัญหาความขัดแย้งระหว่างองค์กรในการระบายน้ำในพื้นที่ผ่าน            
     ๏ สนับสนุนข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ เช่น ข้อมูลปริมาณน้ำฝน ข้อมูล

        พื้นที่ตำบลอื่น ในปี 2552 – 2554 สถิติปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยต่อปี อยู่ที่ประมาณ                    สภาพอากาศ ข้อมูลด้านเทคนิคความเชี่ยวชาญเฉพาะ การประสานกับ



        รางวัลพระปกเกล้า’ 58                                                                                                                      รางวัลพระปกเกล้า’ 58
   238   239   240   241   242   243   244   245   246   247   248