Page 34 - kpi17733
P. 34
2
เทศบาลเมืองแม่เหียะ กำหนดวิสัยทัศน์ในการพัฒนาเมืองไว้ว่า “ประชามีสุข 4. การตัดสินใจของเทศบาล มีการสอบถาม สืบหา ความคิดเห็น หรือข้อมูล
ทั่วหน้า พัฒนาอย่างยั่งยืน บนพื้นฐานเศรษฐกิจ แบบพอเพียง”
และยังให้ความ ทางปฏิบัติตรง ซึ่งได้แก่ ปัญหา อุปสรรค ข้อจำกัด และข้อเสนอแนะ
สำคัญกับการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารงานที่จะช่วยตอบสนองต่อ
เทศบาลให้ความสำคัญแก่ผู้ร่วมงานให้เข้ามามีส่วนร่วมอย่างแท้จริง
ความต้องการของประชาชนได้ตรงจุดสามารถแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพและ
เป็นการบริหารแบบมีส่วนร่วมทั้งจากภายในองค์กรเทศบาล และจาก
มีประสิทธิผล อีกทั้งยังเป็นการตรวจสอบถ่วงดุลการทำงานขององค์กร การดำเนินการ
ภายนอกองค์กร นั่นคือ ชุมชน สังคม ส่งผลให้การบริหารและการตัดสินใจ
ที่ผ่านมาอาศัยความร่วมมือ ร่วมแรง ร่วมใจ ทั้งจากพนักงาน ผู้นำชุมชน และ มีความโปร่งใส ทุกเมื่อ ทุกเวลา พร้อมให้มีการตรวจสอบทุกรูปแบบ
ประชาชน ทำงานร่วมกันสู่ความสำเร็จตามที่คาดหวังไว้ และทุกคนมีความสุขและ 5. ยึดมั่นในผลประโยชน์ส่วนรวมขององค์กรและสังคม มากกว่า
สนุกในการทำงาน
ผลประโยชน์ส่วนตัวหรือของเฉพาะกลุ่มบุคคล การตัดสินใจมิได้เพื่อกลุ่มใด
ในประเด็นความโปร่งใสในการบริหารและการตัดสินใจ เน้นการดำเนินงาน
กลุ่มหนึ่งเป็นพิเศษ การบริหารและการตัดสินใจอิงผลประโยชน์ส่วนรวม
ที่เป็นไปตามกฎระเบียบหรือแบบแผนอันดีของสังคมหรือองค์กร พร้อมและยินดีที่จะ ด้วยความเป็นกลาง ยุติธรรม และมีความเสมอภาค ก่อให้เกิดความ
ให้มีการตรวจสอบวิธีการและผลประโยชน์เกี่ยวข้อง ส่งผลให้ทุกคนทำงานอย่างมี โปร่งใส
ความสุข รู้สึกมั่นคง และมีความสามัคคีต่อกัน
สำหรับโครงการหรือกิจกรรมที่สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นเลิศ ด้านความโปร่งใส
ทั้งนี้ เทศบาลเมืองแม่เหียะได้วางหลักและแนวทางการทำงานในพื้นที่
และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน ของเทศบาลเมืองแม่เหียะ ได้แก่
5 ประการสำคัญ ดังนี้
โครงการมีส่วนร่วมจัดพื้นที่และจัดระเบียบร้านค้าเชิงพระธาตุดอยคำ
1.
การทำงานอย่างเปิดใจ ใจกว้าง และยอมรับความแตกต่างของบุคคลแต่ละคน
เพื่อสร้างคุณค่าชีวิตอย่างยั่งยืน
ที่ย่อมมีความคิด ความเชื่อ และความสามารถที่แตกต่างกัน และต่างไป จากกระแสความศรัทธาของประชาชนที่มีต่อวัดพระธาตุดอยคำ และตำนาน
จากผู้บริหาร อันลี้ลับของปู่แสะย่าแสะ ทำให้นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติต่างหลั่งไหล
2. การทำงานโดยใช้หลักและวิธีการบริหารแบบมีส่วนร่วม ในการบริหารงาน เข้ามาในพื้นที่ หมู่ที่ 3 ตำบลแม่เหียะ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
และบริหารคน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกระบวนการตัดสินใจที่สำคัญๆ ที่มี อันเป็นที่ตั้งของวัดพระธาตุดอยคำ ซึ่งในแต่ละวันมีประชาชนที่มาสักการะวัดแห่งนี้
ผลกระทบต่อการทำงาน หรือต่อวิธีการทำงานของบุคคลต่างๆ จำนวนมาก
ไม่น้อยกว่า 500-1,000 คน และหากเป็นช่วงเทศกาลสำคัญ จะมีนักท่องเที่ยว
ไม่น้อยกว่า 3,000 คนต่อวัน ทั้งนี้ เมื่อมีนักท่องเที่ยวเข้ามาเป็นจำนวนมาก ย่อม
3. มีการเสาะแสวงหาข้อมูล ข่าวสาร ที่สมบูรณ์ ถูกต้อง ทันสมัย เพื่อช่วย ส่งผลให้ประชาชนที่อาศัยอยู่ในตำบลต่างพากันจับจองสถานที่ริมฝั่งถนนตั้งแต่
ให้การคิดเพื่อการตัดสินใจเป็นไปอย่างเหมาะสม และรวดเร็ว โดยไม่มี แยกราชพฤกษ์ จนถึงบริเวณเชิงพระธาตุดอยคำ จำนวนกว่า 100 แผงค้า และก่อให้
วาระซ่อนเร้น ส่งผลให้ผู้บริหารมีความมั่นใจในการตัดสินใจ และพร้อมรับ เกิดปัญหาต่างๆ ตามมามากมาย อาทิ
การตรวจสอบต่อวิธีการและผลของการตัดสินใจ
- ปัญหาด้านการจราจร และการเกิดอุบัติเหตุ เนื่องจากนักท่องเที่ยวจอดรถ
ซื้อสิ่งของเพื่อบูชาพระธาตุฯ อย่างไม่เป็นระเบียบ ประกอบกับถนนสาย
รางวัลพระปกเกล้า’ 58 รางวัลพระปกเกล้า’ 58