Page 155 - kpi19910
P. 155

145






                      43. ปัญหาความขัดแย้งในพื้นที่สาธารณะประโยชน์ทับที่ท้ากินของชาวบ้านควน


                      พื้นที่ : ต าบลบ้านควน จังหวัดตรัง
                      ประเภทความขัดแย้ง : ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ที่ดินท ากิน)


                      ระดับการรับรู้ของสังคม :  ระดับชาติ มีการเผยแพร่ผ่านสื่อสังคมอย่างต่อเนื่อง รวมถึงมีการศึกษา
                      ผ่านงานวิจัย

                      ประเด็นขัดแย้ง :
                               ชาวบ้านต าบลบ้านควน จังหวัดตรัง เกิดความขัดแย้งกับภาครัฐเนื่องจากสูญเสียที่ดิน ที่ท า

                      กินบางส่วนจากการถูกประกาศที่ดินเป็นที่สาธารณะประโยชน์ กรมที่ดิน มีการประกาศที่
                      สาธารณประโยชน์ทับซ้อนพื นที่บางส่วนที่เป็นที่ดินท ากินของชาวบ้าน จนน าสู่ความขัดแย้งระหว่างรัฐ
                      กับประชาชน

                      ความเป็นมา :
                               การเรียกร้องสิทธิในที่ดินท ากินของชาวบ้านต าบลบ้านควน จังหวัดตรัง มานานกว่า 19 ปี
                      ได้เป็นผลส าเร็จ เพราะที่ดินท ากินของชาวบ้านถูกประกาศเป็นที่สาธารณะประโยชน์ แต่หลังผ่านการ
                      พิสูจน์สิทธิท าให้ชาวบ้านส่วนหนึ่งได้รับโฉนดที่ดินเป็นของตัวเอง  โฉนดที่ดินของนายเขียน ชาวบ้าน

                      ต าบลบ้านควน ซึ่งผ่านการพิสูจน์สิทธิในที่ดินท ากินจากส านักงานที่ดินจังหวัดตรัง หลังนายเขียน และ
                      ชาวบ้านในพื นที่ร่วมกันต่อสู้เรียกร้องสิทธิ เพื่อให้ได้มาซึ่งที่ดินท ากินของตนเองนานกว่า
                      19 ปี ชาวบ้านแต่ละคนได้ศึกษาประวัติศาสตร์ของชุมชน สืบหาข้อมูลย้อนหลัง สค.1 ซึ่งระบุว่า
                      ชาวบ้านท ากินในพื นที่ก่อนการประกาศเป็นที่สาธารณประโยชน์ ที่ดิน สค. 1 ของชาวบ้านรายหนึ่ง

                      ระบุว่าที่ดินจ านวน 15 ไร่ ได้มาเพราะการสร้างด้วยตนเองเมื่อปี 2470 เป็นหลักฐานที่น ามาใช้ในการ
                      พิสูจน์สิทธิ
                               ที่ดินต าบลบ้านควน เดิมเป็นทุ่งนามาก่อนการจัดตั งตรังเป็นมณฑลเทศาภิบาลภูเก็ตตั งแต่
                      ปี 2473 ที่ดินบริเวณทุ่งช่องกิ่วถูกประกาศขึ นทะเบียนเป็นที่สาธารณประโยชน์ รวม 2,605 ไร่ และ

                      มีการออกหนังสือส าคัญส าหรับที่หลวง ส่วนหนึ่งทับที่ท ากินและที่อยู่อาศัยของชาวบ้านหมู่ 1 หมู่ 4
                      และหมู่ที่ 6 จ านวน 1,574 ไร่ ส่งผลให้ชาวบ้านต้องอพยพออกจากพื นที่ที่อยู่กันมา 3 ชั่วอายุคน
                      ยาวนานนับ 100 ปี ซึ่งเหตุการณ์ครั งนั นท าให้ชาวบ้านหลายรายสูญเสียที่ดิน การสูญเสียโอกาสจาก

                      การที่ที่ดินไม่มีเอกสารสิทธิ์ท าให้ต้องขายในราคาถูก เพราะคิดว่าไม่มีทางได้โฉนดทั งที่บริเวณนี ที่ดิน
                      แพงมากผนวกกับการไม่มีอาชีพที่มั่นคง จึงท าให้การน าที่ดินไปจ านองหรือกู้เงินท าให้สูญเสียที่ดินของ
                      ตัวเองไปเพราะไม่มีเงินใช้หนี  จนเกิดความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานของรัฐกับประชาชน รวมถึง
                      หน่วยงานที่เกี่ยวข้องก็ไม่ได้ออกมาท าความเข้าใจกับชาวบ้านผู้ได้รับผลกระทบหรือท าเวทีประชาคม
                      กับชาวบ้าน อีกทั งชาวบ้านขาดความรู้เรื่องสิทธิชุมชน และขาดแกนน าในการท าความเข้าใจร่วมกัน

                      ท าให้ชาวบ้านขาดโอกาสเพื่อการเรียกร้องสิทธิของตนเองและจึงท าให้การต่อสู้เผชิญหน้าระหว่าง
                      ภาครัฐและประชาชนมายาวนานไม่น้อยกว่า 18 ปี ที่ดินในต าบลบ้านควนซึ่งได้รับโฉนดแล้วทั งหมดไม่
                      น้อยกว่า 59 ราย 176 แปลง โดยออกโฉนดครั งแรกเมื่อต้นปี 2558 จ านวน 12 ราย 24 แปลง

                      ครั งที่ 2 เมื่อ 17 มกราคมที่ผ่านมา จ านวน 47 ราย 152 แปลง
   150   151   152   153   154   155   156   157   158   159   160