Page 66 - kpi19910
P. 66

56






                      ระดับความรุนแรง : ไม่มีความเสียหายทั้งต่อทรัพย์สินและร่างกาย


                      วิธีการแก้ไข :
                      กลยุทธ์ของการจัดการความขัดแย้งเพื่อแก้ไขปัญหา คือ

                               1. ชาวบ้านร่วมชุมนุมประท้วงเพื่อรักษาที่ท ากิน แสดงจุดยืนในพื้นที่ของตนเองอยู่อาศัยท า
                      กิน ตั้งรกรากในที่ดินนั้นมานาน
                               2. ประชาชนยอมเจรจากับทางราชการโดยผู้ว่าราชการแต่งตั้งพร้อมยอมอพยพออกจาก
                      พื้นที่
                               3. การใช้กระบวนการยุติธรรม โดยการฟ้องร้องให้ศาลยุติความขัดแย้ง โดยในกรณีนี้

                      มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ฟ้องร้องชาวบ้านให้ออกจากพื้นที่ดินก่อสร้างของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

                      ปัจจัยที่จะสนับสนุนเพื่อให้เกิดการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง คือ
                               1. สิทธิชุมชนในการก่อตั้งรกรากในที่ดินท ากินมานาน

                               2. การเยียวยาในสิ่งที่สูญเสีย
                               3. ค่าเวนคืนที่ดินที่เหมาะสมกับความต้องการ

                      ผลกระทบที่เกิดขึ้น :

                               ความกังวลในการสูญเสียที่ดินท ากินอยู่อาศัย ค่าเยียวยาชดเชยไม่คุ้มค่าตามที่ตั้งไว้

                      ที่มาของข้อมูล :
                               1. สัมภาษณ์ตัวแทนชาวบ้านในพื้นที่
                               2. MGR Online “ม.วลัยลักษณ์ บุกโค่นป่าท้องถิ่นปลูกแตงโมแล้วนับ 100 ไร่” เมื่อวันที่

                      17 กุมภาพันธ์ 2557 จาก  https://mgronline.com/south/detail/9570000018553



















                      13. ความขัดแย้งโครงการก่อสร้างเขื่อนวังหีบ


                      พื้นที่ : หมู่ที่ 1 บ้านสระแก้ว และหมู่ที่ 5 บ้านคอกช้าง ต าบลนาหลวงเสน อ าเภอทุ่งสง จังหวัด

                      นครศรีธรรมราช

                      ประเภทความขัดแย้ง : ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (การบริหารจัดการน้ า)
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71