Page 87 - kpi19910
P. 87
77
วิธีการแก้ไข :
กลยุทธ์ของการจัดการความขัดแย้งเพื่อแก้ไขปัญหา คือ
1. หนังสือขอให้น าความกราบบังคมทูลพระกรุณาขอพระราชทานกรุณาธิคุณให้กรม
ชลประทานแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนทั้ง 2 หมู่บ้านที่อาศัยอยู่ริมคลองปากประ
ซึ่งประสบปัญหาการขาดแคลนน้ าเพื่อการเกษตร น้ าเพื่อการอุปโภคบริโภคในช่วงหน้าแล้ง
2. ประชาชนออกมาเรียกร้อง และคัดค้านโครงการดังกล่าว ด้วยการส่งหนังสือขอความเป็น
ธรรมไปยังนายกรัฐมนตรี โดยผ่านผู้ว่าราชการจังหวัดพัทลุง
3. การรับฟังข้อคิดเห็น เสนอแนะ งานส ารวจ ออกแบบ โครงการคลองประ (คลองปาก
ประ) อันเนื่องมาจากพระราชด าริ
ปัจจัยที่จะสนับสนุนเพื่อให้เกิดการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง คือ
1. ชาวบ้านมีการส่งไลน์ และเฟซบุ๊กไปทั่วประเทศเพื่อสร้างแรงกระตุ้นต่อปัญหาที่เกิดขึ้น
2. แหล่งทรัพยากรทางอาหารในพื้นที่อาจมีการเปลี่ยนแปลงอันเกิดจาการด าเนินโครงการ.
ผลกระทบที่เกิดขึ้น :
ความกังวลใจของประชาชนในพื้นที่ เกี่ยวกับการด าเนินโครงการคลองประฯ กรณีประตู
ระบายน้ าปิดกั้นตะกอน ท าให้ล าคลองตื้นเขิน เป็นการสะสมสารเคมีและท าให้ล าน้ าเน่าเสีย สัตว์น้ า
สูญพันธุ์
ที่มาของข้อมูล :
1. สัมภาษณ์ตัวแทนชาวบ้านในพื้นที่
2. มติชนออนไลน์ “กรมชลฯแจง สร้างประตูน้ าคลองประ พัทลุงตามความต้องการชุมชน
ป้องกันน้ าเค็ม ดินเปรี้ยว” วันที่ 5 ตุลาคม 2561 จาก
https://www.matichon.co.th/economy/news_1163882
3. สถานีวิทยุ ตชด.104 หาดใหญ่ “ชาวบ้าน 2 ฝั่งคลองปากประ อ.เมือง จ.พัทลุง 200 คน
ลุกฮือคัดค้านการก่อสร้างประตูน้ า” เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2018 จาก
http://policeradio104.com/2018/