Page 169 - kpi20109
P. 169

16                                                                                                                                                        16


              2.  สำรวจเก็บข้อมูลคัดกรอง ภาวะโรคความดัน เบาหวาน ประมวลค่า BMI ในผู้สูงอายุ          3.  มีจิตอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น จำนวน 60 คน
        โดยเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี และรับสมัครกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ
                                                                                                    4.  ผู้เข้าร่วมโครงการมีค่าดัชนีมวลกาย (BMI) จากผิดปกติกลับเป็นปกติ จำนวน 4 คน
              3.  เครือข่ายระดมสรรพกำลัง ให้ความรู้ เฝ้าระวัง ติดตาม เสริมทักษะการดำเนินชีวิต   คิดเป็นร้อยละ 13.33

        การคัดกรองโรคเรื้อรังอย่างต่อเนื่อง โดยผ่านกระบวนการโรงเรียนผู้สูงอายุและขยายผลสู่ผู้สูงอายุ  5.  ผู้สูงอายุอื่นๆ ที่เข้าร่วมโครงการ มีค่าความดันโลหิตลดลงอย่างเห็นได้ชัดเจน จำนวน
        ที่มีภาวะเสี่ยงเป็นโรคเรื้อรังในเขตตำบลนาพู่
                                                                                              25 คน คิดเป็นร้อยละ 83.33 และหายจากโรคความดันโลหิตสูงและหยุดรับประทานยา คิดเป็น
              4.  เครือข่ายสร้างหลักสูตรกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อพัฒนาผู้สูงอายุให้มีศักยภาพ   ร้อยละ 13.33 ของจำนวนผู้สูงอายุที่สนใจเข้าร่วมโครงการ
        ขยายผลการพัฒนาชุมชนสู่ผู้สูงอายุ พร้อมศึกษา วิเคราะห์ข้อมูล วัดผลและประเมินผลการจัดทำ       6.  ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เหมาะสมกับตนเอง ไม่ว่าจะ
        กิจกรรมให้เหมาะกับบริบทในพื้นที่
                                                                                              เป็นเรื่องการกินอาหาร การออกกำลังกายที่เหมาะสมกับตนเอง การป้องกันไม่ให้เกิดโรคแทรกซ้อน

              5.  สร้างวิทยากรในพื้นที่ เพื่อเพิ่มศักยภาพในการเป็นวิทยากร/กระบวนการในการ      ในผู้สูงอายุ อีกทั้งผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความมุ่งมั่นในการเข้าร่วมแก้ไขปัญหาโรคเรื้อรัง
        ถ่ายทอดความรู้อย่างต่อเนื่องในโรงเรียนผู้สูงอายุ จำนวน 40 คน                          ทำให้เกิดความสำเร็จได้ตามวัตถุประสงค์

              6.  ติดตามและประเมินผลเป็นระยะ วิเคราะห์ผลการดำเนินงาน โดยการร่วมมือของ               7.  มีผู้สูงอายุเข้าร่วมเป็นจิตอาสาดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะเสี่ยงเป็นโรคเรื้อรังซึ่งกันและกัน
        กลุ่มเป้าหมายและการทำงานในพื้นที่ของเครือข่าย ตลอดจนการสร้างความเข้าใจในทักษะ         เพิ่มขึ้น ซึ่งได้นำความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ ตลอดจนแนวปฏิบัติในชีวิตประจำวัน ถ่ายทอดช่วย
        การปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้อง                                                          เหลือกันทำให้สังคมผู้สูงอายุเกิดความใกล้ชิดกัน ผู้สูงอายุสามารถดูแลตนเองได้ ไม่เป็นภาระของ
                                                                                              สังคม
              7.  ขยายผลไปสู่กลุ่มเป้าหมายอื่น ที่ยังไม่เข้าร่วมโครงการเพื่อให้การลดและแก้ไขปัญหา
        โรคเรื้อรังในผู้สูงอายุ มีจำนวนและสถิติลดน้อยลง อันจะส่งผลให้ชุมชนมีการดูแลซึ่งกันและกัน
        อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน

        ผลการดำเนินงานของเครือข่ายร่วมเฝ้าระวังโรคเรื้อรังในผู้สูงอายุ

              จากข้อมูลผู้สูงอายุที่เข้าข่ายเป็นโรคเรื้อรังและได้เข้าร่วมโครงการจำนวน 30 คน

        ได้ผลดังนี้

              1.  ผู้สูงอายุกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการมีค่าความดันโลหิตลดลง จำนวน 25 คน
        คิดเป็นร้อยละ 83.33 และหายจากโรคความดันโลหิต จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อนละ 16.66 ของ
        กลุ่มเป้าหมายทั้งหมด

              2.  ผู้สูงอายุที่เสี่ยงเป็นโรคเรื้อรังสามารถลดและหยุดรับประทานยารักษา จำนวน 5 คน

        คิดเป็นร้อยละ 16.66 และหายจากภาวะเสี่ยงโรคเรื้อรัง จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 13.33


        รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61                                                                                                            รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61
   164   165   166   167   168   169   170   171   172   173   174