Page 216 - kpi20109
P. 216

21                                                                                                                                                        215


             4  อาสาสมัครสาธารณสุขประจำชุมชน  ร่วมจัดกิจกรรมกับกองทุนด้วยการให้บริการ               ต่อมา เทศบาลเมืองลำพูนได้ทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือกับจังหวัดลำพูนตามแนวทาง
                 ทางด้านสุขภาพเบื้องต้น เช่น การชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง การวัดความดันโลหิต และ  บริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชน “จังหวัดสะอาด” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วม
                 การตรวจหาน้ำตาลในเลือด เป็นต้น                                               ของทุกภาคส่วนในการลดปริมาณขยะมูลฝอยตั้งแต่ต้นทาง รวมทั้งยังได้ทำบันทึกข้อตกลง
                                                                                              ความร่วมมือการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชน จังหวัดสะอาด 3Rs ประชารัฐ และชุมชน
             4  คณะกรรมการกองทุนหมู่บ้าน  จัดสรรงบประมาณจากผลกำไรของกองทุนสนับสนุน            ปลอดขยะเปียก ระหว่าง จังหวัดลำพูน เทศบาลเมืองลำพูน และชุมชนทั้ง 17 ชุมชนในเขต
                 การทำกิจกรรมของกองทุนแม่ของแผ่นดิน เช่น การแข่งขันกีฬาต้านยาเสพติด และ       เทศบาลเมืองลำพูน เพื่อมุ่งสู่การเป็น “จังหวัดปลอดขยะเปียก” ภายในวันที่ 1 กันยายน 2560
                 การส่งเสริมอาชีพ เป็นต้น พร้อมทั้งสนับสนุนการทำกิจกรรมของกองทุนสวัสดิการ     ตามนโยบายของจังหวัด
                 ชุมชนในการช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ เด็กและเยาวชน
                                                                                                    จากนั้น คณะผู้บริหารและเจ้าหน้าที่กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมได้จัดให้มีการประชุม
              กองทุนชุมชนเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ช่วยอุดช่องว่างในการทำงานของสองกองทุน คือ

        กองทุนสวัสดิการชุมชนและกองทุนแม่ของแผ่นดิน ซึ่งเดิมกองทุนแม่ของแผ่นดินจะดำเนินงาน     ร่วมกับประธานและคณะกรรมการชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุข และกลุ่มแกนนำในชุมชน
                                                                                              เพื่อแจ้งให้ทราบถึงสถานการณ์ปัญหาขยะในพื้นที่ และร่วมกันวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาและ
        เฉพาะด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน และกองทุนสวัสดิการชุมชนจะ             แนวทางการแก้ไขปัญหา ข้อสรุปจากการประชุมในครั้งนั้น คือ การส่งเสริมสนับสนุนให้มีการ
        ดำเนินงานเฉพาะด้านการจัดการสวัสดิการให้กับสมาชิกเป็นรายบุคคลตามระเบียบของกองทุน       บริหารจัดการขยะโดยให้ทุกภาคส่วนโดยเฉพาะภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมอย่างเต็มที่
        ที่ตั้งไว้ กองทุนชุมชนเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ได้เข้ามาเติมเต็มในส่วนของกิจกรรมที่เป็น  การดำเนินงานจึงเริ่มต้นโดยการแต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อรับผิดชอบการดำเนินงานในแต่ละด้าน
        สาธารณประโยชน์ โดยใช้ทรัพยากรของทั้งสองกองทุนที่มีอยู่ทั้งในด้านงบประมาณและกำลังคน    ได้แก่ 1) คณะทำงานด้านการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชน “จังหวัดสะอาด” ระดับองค์กร
        กระบวนการขับเคลื่อนกองทุนเน้นการมีส่วนร่วมของทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง  ปกครองส่วนท้องถิ่น 2) คณะทำงานด้านการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในชุมชนเขตเทศบาลเมือง

        ภาคประชาชนเพื่อให้กองทุนสามารถพึ่งพาตนเองได้ โดยมีคณะกรรมการที่มาจากตัวแทนของ         ลำพูน และ 3) คณะกรรมการธนาคารขยะชุมชน ซึ่งคณะกรรมการแต่ละชุดมีตัวแทนมาจากทั้ง
        ประชาชนเป็นผู้บริหารจัดการกองทุน รวมถึงการดำเนินกิจกรรมของกองทุนมีความเหมาะสม         ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม
        สอดคล้องกับสภาพภูมิสังคมของชุมชน คนในชุมชนจึงรู้สึกถึงความเป็นเจ้าของกองทุน เข้ามามี
        ส่วนร่วมในการสร้างสังคมที่มีความเอื้ออาทรและช่วยเหลือเกื้อกูลกัน และร่วมรับประโยชน์จาก      กิจกรรมที่มีการดำเนินการ ได้แก่ การอบรมให้ความรู้ การจัดนิทรรศการให้ความรู้ และ
        การเป็นสมาชิกกองทุนโดยมีคุณภาพชีวิตที่ดีมากยิ่งขึ้น                                   การประชาสัมพันธ์กิจกรรมและรณรงค์ผ่านทางช่องทางต่างๆ, การรณรงค์เคาะประตูบ้านให้คัด

                                                                                              แยกขยะ, การรับบริจาคขยะรีไซเคิล, การทอดผ้าป่าขยะรีไซเคิล, กิจกรรมธนาคารขยะชุมชน,
        ชุมชนลดขยะ เทศบาลเมืองลำพูน
                                                                                              การรับบริจาควัสดุอะลูมิเนียมและปฏิทินเก่า, การรวบรวมและกำจัดขยะอันตรายในชุมชน,
              เมืองลำพูนมีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง ประชากรอพยพย้ายถิ่นฐานเข้ามาอยู่อาศัยเป็น   การกำหนดเส้นทางการเก็บขนขยะในชุมชน และกิจกรรมการทำปุ๋ยหมักจากขยะเปียก โดยแต่ละ
        จำนวนมาก อีกทั้งนิคมอุตสาหกรรมตั้งอยู่บริเวณใกล้เคียง ส่งผลให้ในแต่ละวันมีขยะเกิดขึ้น    ภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงาน ดังนี้
        ในพื้นที่ประมาณ 16 – 18 ตัน ในปี พ.ศ. 2557 – 2559 เทศบาลเมืองลำพูนมีปริมาณขยะเพิ่มขึ้น
        อย่างต่อเนื่อง จำนวน 6,086.71 , 5,729.22 , 6,081.06 และ 6,476.9 ตันต่อปี ตามลำดับ เทศบาล     4  เทศบาลเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
        เมืองลำพูนจึงต้องใช้งบประมาณเป็นจำนวนมากในการบริหารจัดการขยะ                                  จังหวัดลำพูน ท้องถิ่นจังหวัดลำพูน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำพูน
                                                                                                      ให้การสนับสนุนในด้านองค์ความรู้ งบประมาณ บุคลากร วัสดุอุปกรณ์ และ
                                                                                                      การประชาสัมพันธ์ เช่น ให้ความรู้และสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ในการทำปุ๋ยหมักจาก


        รางวัลพระปกเกล้า’ 61                                                                                                                      รางวัลพระปกเกล้า’ 61
   211   212   213   214   215   216   217   218   219   220   221