Page 258 - kpi20109
P. 258
256 25
4 กลุ่มผลิตข้าวสังข์หยด อบต.ตำนานสนับสนุนและให้ความรู้เกี่ยวกับการผลิต หนึ่งตำบลหนึ่งทีมกู้ชีพกู้ภัย
ข้าวสังข์หยดให้ได้มาตรฐาน และการบรรจุหีบห่อ โดยกลุ่มมีรายได้เฉลี่ยต่อครัว
เรือนเพิ่มขึ้น 5,000 -8,000 บาท องค์การบริหารส่วนตำบลตำนานริเริ่มดำเนินการระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน เพื่อให้
สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ.2551 ที่ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามา
4 กลุ่มผลิตเครื่องแกง ทำเครื่องแกงต่างๆ เช่นเครื่องแกงเหลือง แกงกะทิ ใช้เอง มีบทบาทในการบริหารจัดการในการปฏิบัติงานด้านการแพทย์ฉุกเฉินร่วมกัน และด้วยมุ่งหวังที่จะ
ในครัวเรือนและยังส่งตามร้านค้าขายของชำ ให้ประชาชนทุกคนในพื้นที่ที่รับผิดชอบ ที่เจ็บป่วยด้วยโรคปัจจุบันหรือประสบอุบัติได้รับการ
ช่วยเหลือ ณ จุดเกิดเหตุ ให้สามารถเข้าถึงสถานพยาบาล หรือสามารถรับการส่งต่อไปยัง
3. การเกื้อกูลแบ่งปัน ศูนย์ฯ จะเป็นสถานที่ในการศึกษาเรียนรู้ของเกษตรกร เด็ก
นักเรียน และผู้ที่สนใจ สถานพยาบาลที่มีศักยภาพได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ โดยองค์การบริหารส่วนตำบลตำนาน
พัฒนาความพร้อมในการดำเนินงานระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินระดับตำบล ในเรื่องของยาน
นอกจากนี้ องค์การบริหารส่วนตำบลตำนานได้ต่อยอดการดำเนินงานของศูนย์ส่งเสริม พาหนะสำหรับนำส่ง การเตรียมสถานที่ และบริหารจัดการให้สามารถดำเนินงานได้ตลอด
การเรียนรู้และการพัฒนาอาชีพตำบลตำนานที่ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมมากขึ้น โดยการก่อสร้าง 24 ชั่วโมง มาตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2555 ในนาม “ศูนย์ปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉินองค์การบริหาร
ฟาร์มโคเนื้อและให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในรูปแบบสหกรณ์ เพื่อรองรับกลุ่มผู้เลี้ยงโค ส่วนตำบลตำนาน”
โดยร่วมกับสมาชิกโคขุนและสหกรณ์โคเนื้อพัทลุง มาศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการของสมาชิก
ให้บริการผสมเทียมโค ส่งเสริมการเลี้ยงโคขุน โคพันธุ์ บริการจำหน่ายอาหารสัตว์ ยา เวชภัณฑ์ หัวใจสำคัญของการดำเนินงานศูนย์ปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉินขององค์การบริหาร
ให้กับสมาชิก และรับซื้อโคนม โคขุน พร้อมทั้งแปรรูปและจำหน่าย อีกทั้งยังแบ่งปันที่ดินให้ปลูก ส่วนตำบลตำนาน คือ อาสาสมัครกู้ชีพที่เป็นการทำงานร่วมกันแบบบูรณาการของผู้มีใจอาสาอยาก
หญ้าอีกด้วย และนอกจากสหกรณ์ฟาร์มโคเนื้อ องค์การบริหารส่วนตำบลตำนานและ ช่วยเหลือผู้อื่นร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลตำนาน ไม่ว่าจะเป็นสมาชิกอาสาสมัครป้องกันภัย
คณะกรรมการศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาอาชีพตำบลตำนานยังได้ริเริ่มโครงการพัฒนา ฝ่ายพลเรือน (อปพร.) ตลอดจนเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับงานการแพทย์ฉุกเฉิน ซึ่งอาสากู้ชีพนี้มีที่มา
หนองน้ำแม่ลาน ในพื้นที่ หมู่ที่ 12 ให้เป็นสถานที่แหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และเป็นสถานที่พัก จากการประชาสัมพันธ์ของศูนย์ปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉินองค์การบริหารส่วนตำบลตำนาน ผ่าน
ผ่อนออกกำลังกายของตำบลตำนาน โดยมีการก่อสร้างถนนโดยรอบหนองน้ำแม่ลาน ก่อสร้างศาลา ช่องทางต่างๆ เช่น ส่งหนังสือขอความร่วมมือประชาสัมพันธ์ไปยังหอกระจายข่าวประจำหมู่บ้านทั้ง
เป็นสถานที่พักผ่อน การส่งเสริมอาชีพเลี้ยงปลาในกระชังเพื่อการอนุรักษ์และขยายพันธุ์ต่อไป 15 หมู่บ้าน ผ่านเวทีประชาคม ผ่านโครงการหรือแผนงานที่จัดขึ้นในแต่ละหมู่บ้านเมื่อมีโครงการ
จัดขึ้นภายในตำบลเองหรือภายในชุมชน แผ่นพับ เปิดสปอร์ตรถแห่ประชาสัมพันธ์ขององค์การ
การดำเนินงานต่างๆ ของศูนย์นั้นสอดคล้องกับความต้องการของประชาชน ทำให้ บริหารส่วนตำบลตำนานอย่างสม่ำเสมอ ผ่านสถานีข่าวสารเฟซบุ๊กและเว็บไซต์ขององค์การบริหาร
ประชาชนเกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของ มีการจัดตั้งคณะทำงานที่มาจากชุมชนโดยการคัดเลือกกันเอง ส่วนตำบลตำนาน ทำให้ประชาชนได้รับทราบข้อมูลข่าวสารการแพทย์ฉุกเฉินอย่างต่อเนื่องและ
ภายในชุมชน โดยจะมีการประสานงานกับภาคีเครือข่ายในพื้นที่ที่มีความเชี่ยวชาญเป็นผู้ร่วม สม่ำเสมอ ส่งผลให้ประชาชนได้รับทราบข้อมูลข่าวสาร รายละเอียดและขั้นตอนการให้และ
ขับเคลื่อนโครงการ โดยจะมีการประชุมชี้แจงต่อชุมชนเพื่อความเข้าใจและขยายผล ทำให้กลุ่ม การขอรับบริการการแพทย์ฉุกเฉินองค์การบริหารส่วนตำบลตำนานได้อย่างเข้าใจ ถูกต้อง และ
เกิดความเข้มแข็งและพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน ทั่วถึงมากขึ้น รวมทั้งสมัครเข้ามาร่วมเป็นอาสาสมัครกู้ชีพจำนวนมาก เนื่องจากได้เห็น
ผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นกับชุมชน และพ่อแม่พี่น้องของตนเองเป็นผู้ได้รับประโยชน์อย่างแท้จริง
ทำให้อาสาสมัครกู้ชีพทุกคนเต็มใจที่จะปฏิบัติหน้าที่ไม่ว่าจะเป็นการช่วยเหลือนำส่งผู้บาดเจ็บ ณ
ที่เกิดเหตุ ผู้ป่วยติดเตียงที่ยากไร้ และงานสนับสนุนกิจกรรมอื่นๆ ขององค์การบริหารส่วนตำบล
รางวัลพระปกเกล้า’ 61 รางวัลพระปกเกล้า’ 61