Page 300 - kpi20109
P. 300

2                                                                                                                                                         2


              จากผลจากการดำเนินงานของเทศบาลตำบลท่าสาปนี้ สามารถเสริมสร้างความสามัคคีได้                                                เทศบาลตำบลท่าสาป ได้เล็งเห็นถึง
        อย่างยั่งยืนและถาวร ผลสำเร็จของโครงการตลาดนัดภูมิปัญญาสืบสานวัฒนธรรมท้องถิ่น ประจำปี                                     ปัญหาดังกล่าว ประกอบกับภารกิจของ
        2560 คือการที่ประชาชนในตำบลท่าสาป มีความรัก ความสามัคคีต่อกันมากขึ้น มีรอยยิ้ม และ                                       เทศบาลซึ่งมีหน้าที่โดยตรงในการดูแลผู้สูงอายุ
        เสียงหัวเราะที่มีความสุข อีกทั้งศิลปวัฒนธรรม ประเพณีที่ดีงาม ตลอดจนการละเล่น และ                                         รวมทั้งส่งเสริม สนับสนุน และแสวงหา

        ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่นับวันจะจางหายไปถูกสืบทอดให้ดำรงคงอยู่ต่อไป ปัจจุบัน “โครงการ                                        ความร่วมมือจากภาคีเครือข่าย เพื่อให้ผู้สูงอายุ
        ตลาดนัดภูมิปัญญาสืบสานวัฒนธรรมท้องถิ่น” “ตลาดต้องชม ท่าแพ-ท่าสาป” และ “ชุมชน                                             ได้มีพื้นที่ในการเข้าร่วมกิจกรรมกับชุมชน
        ท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี ถนนคนเดิน ท่าสาปแต่ก่อน” เป็นงานที่ดึงดูดให้ประชาชนทั้งในเขต                                    ไม่ว่าจะเป็นการพบปะพูดคุย แลกเปลี่ยน
        เทศบาลตำบลท่าสาป และนอกเขตพื้นที่ รวมถึงนักท่องเที่ยวเข้ามาเยี่ยมชมและแวะเวียน                                           เรียนรู้ การถ่ายทอดภูมิปัญญา หรือการพัฒนา
        อย่างคับคั่ง โครงการดังกล่าวส่งผลให้ประชาชนมีรายได้เพิ่มขึ้น มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เป็นการ                              ตนเองในด้านต่างๆ ซึ่งเป็นการยกระดับการจัด

        พัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน                                                                                                สวัสดิการสำหรับผู้สูงอายุในชุมชน เพื่อให้
                                                                                                                                 ผู้สูงอายุมองเห็นคุณค่าและความสำคัญของ
                                                                                                                                 ตนเอง และชุมชนประจักษ์ในศักยภาพและ
                                                                                                                                 พลังของผู้สูงอายุ อันจะส่งผลให้ผู้สูงอายุใช้
                                                                                                                                 ชีวิตอย่างมีคุณค่า มีศักดิ์ศรี และมีความสุข
                                                                                                                                 เทศบาลจึงได้ร่วมกับ สำนักงานพัฒนาสังคม

                                                                                                                                 จังหวัดยะลา สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด
                                                                                                                                 ยะลา และภาคีเครือข่าย ดำเนินการจัดตั้ง
                                                                                              “โรงเรียนมีสุขผู้สูงวัย เทศบาลตำบลท่าสาป” ขึ้น และความสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล ข้อ 3
        โครงการโรงเรียนมีสุขผู้สูงวัย เทศบาลตำบลท่าสาป                                        การลดความเหลื่อมล้ำของสังคม และการสร้างโอกาสการเข้าถึงบริการของรัฐ ซึ่งสอดคล้องกับ


              ประเทศไทยได้เข้าสู่ “สังคมผู้สูงอายุ” มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 กล่าวคือ มีประชากรอายุ     วัตถุประสงค์ของโรงเรียนมีสุขฯ ด้วย
        60 ปีขึ้นไปเกินกว่าร้อยละ 10 ของประชากรทั้งประเทศ อันเป็นผลมาจากอัตราการเกิดที่ลดลงและ      โรงเรียนมีสุขผู้สูงวัยเทศบาลตำบลท่าสาป เป็นโรงเรียนผู้สูงอายุแห่งแรกและแห่งเดียวของ
        ความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์ ทำให้ผู้สูงอายุมีอายุยืนยาวขึ้น การที่ประชากรวัยสูงอายุ     จังหวัดยะลา ที่ใช้หลักสูตรของกรมกิจการผู้สูงอายุ กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ
        มีแนวโน้มเพิ่มจำนวนขึ้นอย่างรวดเร็ว ทำให้ประเทศต้องมีรายจ่ายด้านสวัสดิการเพื่อผู้สูงอายุ    มนุษย์ และผสมผสานการเรียนโดยใช้รูปแบบของพหุวัฒนธรรมเข้าไปเกี่ยวข้อง เนื่องจากผู้เรียน
        เพิ่มสูงขึ้น ครอบครัวต้องแบกรับภาระในการดูแลผู้สูงอายุมากขึ้น ขณะที่ผู้สูงอายุเองเมื่อมีอายุ  มีทั้งพี่น้องไทยพุทธ และไทยมุสลิม ซึ่งมีวัตถุประสงค์ที่ระบุไว้อย่างชัดเจนในการสร้างความรัก
        ยืนยาวขึ้นก็ยิ่งต้องเผชิญกับปัญหาการขาดแคลนรายได้ หรือรายได้ไม่เพียงพอแก่การดำรงชีพ   ความสามัคคี ความปรองดอง และลดความหวาดระแวงในกลุ่มพี่น้องไทยพุทธและไทยมุสลิม

        รวมถึงความเสี่ยงจากการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังต่าง ๆ ความพิการหรือทุพพลภาพ นอกจากนี้
        สภาพครอบครัวไทยที่เปลี่ยนแปลงไปจากอดีต จากที่มีคนหลายรุ่นอยู่ในครัวเรือนเดียวกัน            โรงเรียนมีสุขผู้สูงวัยเทศบาลตำบลท่าสาป เริ่มจัดการเรียนการสอนในปี พ.ศ.2559 จนถึง
        กลายเป็นครอบครัวเดี่ยวมากขึ้น ทำให้ผู้สูงอายุต้องอยู่กันตามลำพัง ขาดผู้ดูแล และอาจเกิด     ปัจจุบัน มีนักเรียนที่จบหลักสูตรแล้วจำนวน 4 รุ่น รุ่นละ 25 คน และปัจจุบันอยู่ระหว่างการเรียน
        ความรู้สึกว่าชีวิตไร้ความหมาย

        รางวัลพระปกเกล้า’ 61                                                                                                                      รางวัลพระปกเกล้า’ 61
   295   296   297   298   299   300   301   302   303   304   305