Page 345 - kpi20109
P. 345
5
ก็ต้องกว้างกว่าเก้าอี้ล้อเข็น เป็นต้น เครือข่ายประกอบด้วย กองช่างเทศบาลตำบลบ้านแฮด นอกจากนั้นเทศบาลตำบลบ้านแฮด ได้ดำเนินงานร่วมกับสำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 10
โรงพยาบาลสิรินธร รพ.สต.บ้านแฮด รพ.สต.ขามเปี้ย กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม บริษัท ในการปลูกป่าชุมชนร่วมกัน ได้แก่ ป่านิเวศชุมชน สวนป่าชุมชน ป่านิเวศเมือง และชุมชน อีกทั้ง
SCG บริษัทสยามแก๊ส บริษัทเซรามิค และช่างชุมชนที่ผ่านการอบรม นักกายภาพบำบัด ยังมีทุนในชุมชนที่ช่วยกันขับเคลื่อนงานเพื่ออนุรักษ์ จัดการทางด้านสิ่งแวดล้อม ได้แก่
โรงพยาบาลสิรินธร จังหวัดขอนแก่น คณะแพทย์ศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและ กลุ่มห้องเรียนดินบ้านโนนกล้วยหอม ระบบน้ำใต้ดินต้นแบบ อีกทั้งยังเชื่อมโยงงานกับวัดในการ
นฤมิตศิลป์พร้อมด้วยคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผลคือ มีการปรับสภาพบ้าน จัดทำวัดส่งเสริมสุขภาพและสิ่งแวดล้อม มีการจัดการจัดตั้ง โฮมสเตย์รักษ์โลก รักสิ่งแวดล้อม
ที่เอื้ออำนวยในการดำเนินชีวิต ผู้สูงอายุ จำนวน 16 ราย ทุกหมู่บ้าน ร้านค้าเสี่ยงทาย ธนาคารขยะเพื่อการแบ่งปัน เทศบาลตำบลบ้านแฮดได้มีการจัดการ
กับตลาดเทศบาลอันเป็นสาเหตุให้เกิดน้ำเสีย ขยะ และกลิ่นอันก่อให้เกิดเหตุรำคาญ โดยการจัดตั้ง
โครงการเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน
ตลาดสดรักษ์สิ่งแวดล้อม ร้านค้าลดการใช้ถุงพลาสติก ร้านอาหารต้นแบบ 3 RS อีกทั้งยังสร้าง
จากปัญหาตำบลบ้านแฮด มีการขยายตัวของชุมชนที่เพิ่มขึ้น ขาดการวางผังเมืองหรือ จิตอาสาในการขับเคลื่อนงานและเป็นต้นแบบในการจัดการขยะในโรงเรียน ได้แก่กลุ่มเยาวชนอาสา
ชุมชนจึงเกิดปัญหา เช่นปัญหาน้ำเน่าเสีย ปัญหากลิ่นเหม็น ปัญหาการขาดแคลนน้ำ วัฒนธรรม จัดการขยะในโรงเรียน สิ่งที่ได้ ทำให้ประชาชนในตำบลบานแฮด รู้จักการคัดแยกขยะ
และภูมิปัญญาท้องถิ่นสูญหาย ปลูกจิตสำนึกให้กับเด็กและเยาวชนโดยการสร้างจิตอาสา เกิดสวนป่าชุมชนที่มีต้นไม้หลากหลาย
สิ่งเหล่านี้ชุมชน และหน่วยงานภาคส่วนต่าง ๆ จึงมีแนวคิดในการอนุรักษ์ทรัพยากรและ เป็นพื้นที่สีเขียว และสามารถต่อยอดในการดำเนินงานต่อไป ได้แก่เส้นทางการเดินป่า สวนป่าสมุน
สิ่งแวดล้อม สิ่งที่เกิดขึ้นในชุมชน ได้แก่ สวนป่าชุมชน โดยดำเนินการสำรวจพันธ์ุพืชในป่าชุมชน ไพรชุมชน และทำให้ปริมาณขยะในตำบลบ้านแฮดลดน้อยลง (อ้างถึง:RECAP)
ในพื้นที่กว่า 100 ไร่ ทำข้อตกลงชุมชนในการอนุรักษ์ และนำพืชสมุนไพรที่เกิดในป่าชุมชน บทบาทหน้าที่เครือข่ายการดำเนินงาน ดังนี้
มาแปรรูป เพื่อใช้ในการบำบัดรักษาพยาบาล การจัดการอนุรักษ์แหล่งน้ำชุมชน โดยมีข้อตกลง
ชุมชนในการสำรวจและอนุรักษ์แหล่งน้ำของชุมชนเพื่อป้องกันปัญหาการขาดแคลนน้ำในหน้าแล้ง 4 เทศบาลตำบลบ้านแฮดร่วมกับสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
การเพิ่มพื้นที่สีเขียวร่วมกับหน่วยงานภาครัฐปลูกต้นไม้ เพิ่มพื้นที่สีเขียวในชุมชน การจัดการ 4 จังหวัดขอนแก่น และสำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอบ้านแฮด ให้การสนับสนุนด้าน
น้ำเสียที่ขังในชุมชน โดยใช้ระบบน้ำใต้ดิน การบริหารจัดการขยะอย่างครบวงจร การประชา- วิทยากรให้ความรู้ด้านการส่งเสริมอาชีพ เพื่อผลักดันให้ผลิตภัณฑ์ของชุมชนตำบลบ้านแฮดเป็นที่
สัมพันธ์การจัดการหน้าบ้านสะอาด เป็นต้น ยอมรับของตลาด เช่น การแปรรูปผลิตภัณฑ์ผ้าเป็นสินค้า Otop ให้คำแนะนำสถานที่ โรงงาน
เทศบาลตำบลบ้านแฮด มีการสำรวจข้อมูล พบครัวเรือนที่มีปัญหาเรื่องการจัดการขยะ จำหน่ายวัตถุดิบที่ราคาถูกได้มาตรฐานเพื่อลดต้นทุนการผลิตของชุมชน ส่งเสริมสถานที่จำหน่าย
จำนวน 137 ครัวเรือน (อ้างถึง:www.tcnap.org) มีการจัดตั้งหมู่บ้านจัดการตนเองในเรื่องขยะ ผลิตภัณฑ์ชุมชน นอกจากนี้ สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอบ้านแฮด เป็นคณะกรรมการร่วมกับ
เป็นหมู่บ้านต้นแบบ 3 หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านหนองไฮ บ้านหนองโง้ง และบ้านโนนกล้วยหอม ชุมชนในการเก็บข้อมูลตำบล (TCNAP) การประเมินทุนและศักยภาพชุมชน เป็นทีมในการ
เป็นแหล่งเรียนรู้ในเรื่องการบริหารจัดการขยะครบวงจรในชุมชน เป็นต้นแบบให้กับหมู่บ้านอื่น การอบรมเพิ่มขีดและศักยภาพวิทยากรชุมชน
และสามารถถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้ที่เข้ามาแลกเปลี่ยนรู้ได้ และมีวิทยากรประจำแหล่งเรียนรู้ที่มี 4 กระทรวงแรงงาน โดยสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค 6 ขอนแก่น เป็นสถานที่
ศักยภาพในการบรรยาย นำเสนอให้เกิดองค์ความรู้ผู้ที่สนใจ มีการจัดการขยะทุกประเภท โดยมี จัดการเรียนการสอนและการฝึกอาชีพและสนับสนุนงบประมาณในการอบรมสำหรับชุมชน (แหล่ง
ทุนทางสังคมระดับบุคคล ได้แก่เจ้าหน้าที่ เทศบาลตำบลบ้านแฮด เข้าไปมีส่วนร่วมในการแนะนำ เรียนรู้) เพื่อให้มีความรู้และเชี่ยวชาญในการพัฒนาอาชีพผลิตภัณฑ์ในชุมชนตรงกับความต้องการ
ให้ความรู้และส่งเสริม มีการจัดตั้งธนาคารขยะเพื่อให้ประชาชนได้รู้จักการคัดแยกขยะแต่ละ ในตลาดมาก เช่น อาชีพตัดเย็บ การจักรสาน การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากวัสดุในชุมชน
ประเภท
รางวัลพระปกเกล้า’ 61 รางวัลพระปกเกล้า’ 61