Page 351 - kpi20109
P. 351
50 51
เทศบาลตำบลชมภู ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของจังหวัดเชียงใหม่ ห่างจากอำเภอ สำหรับโครงการหรือกิจกรรมที่สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นเลิศ ด้านการเสริมสร้าง
สารภีประมาณ 4 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากศูนย์ราชการจังหวัดเชียงใหม่ประมาณ 15 กิโลเมตร เครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม ของเทศบาลตำบลชมภู ได้แก่
มีเนื้อที่ประมาณ 13.32 ตารางกิโลเมตร (ประมาณ 9,579 ไร่) ครอบคลุม 9 หมู่บ้าน และ
1 ชุมชน มีประชาชนทั้งสิ้นประมาณ 7,300 คน ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นส่วนใหญ่ โดยมี โครงการเครือข่ายการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้สูงอายุตำบลชมภู
อาชีพรองเป็นอาชีพรับจ้าง โครงการนี้มีที่มาจากจำนวนผู้สูงอายุในพื้นที่เทศบาลตำบลชมภูที่เพิ่มสูงขึ้นทุกปี นับตั้งแต่
ปี พ.ศ. 2557 เป็นต้นมา จนมีความเป็นไปได้ว่าพื้นที่เทศบาลจะกลายเป็นสังคมผู้สูงอายุในอนาคต
สำหรับการเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม เทศบาลตำบลชมภูมีวิสัยทัศน์ อันใกล้ ซึ่งเป็นที่รู้กันดีว่าผู้สูงอายุมักมีแนวโน้มที่จะประสบปัญหาสุขภาพทั้งทางร่างกายและจิตใจ
ที่จะ “เป็นองค์กรแห่งการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเป็นหน่วยงานที่เชื่อมโยง สร้างเครือข่าย ได้ง่ายกว่าช่วงวัยอื่น ๆ รวมถึงมีโรคประจำของช่วงวัยนี้อยู่ไม่น้อย ไม่ว่าจะเป็นโรคเบาหวาน
สร้างความร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาคประชาชน ภาคประชาสังคม และภาคเอกชน” โดยมุ่ง ข้อต่อเสื่อม หรือความดันโลหิต ที่อาจจะนำไปสู่อาการทุพพลภาพ และไม่สามารถใช้ชีวิต
บูรณาการการทำงาน ทรัพยากรบุคคล งบประมาณ และองค์ความรู้กับเครือข่ายเพื่อนำมาพัฒนา ด้วยตนเองได้ จากแนวโน้มดังกล่าว เทศบาลตำบลชมภูจึงร่วมกับหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และ
ท้องถิ่นด้านต่าง ๆ ซึ่งที่ผ่านมา เทศบาลได้ร่วมงานกับเครือข่ายดำเนินการพัฒนาท้องถิ่นมาแล้ว ประชาสังคมเพื่อค้นหาแนวทางในการแก้ปัญหา จนเกิดเป็น “เครือข่ายการฟื้นฟูสมรรถภาพ
7 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านการศึกษา ศิลปวัฒนธรรมจารีต ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น ผู้สูงอายุตำบลชมภู” ขึ้น โดยมีเป้าหมายร่วมกันคือการทำให้ผู้สูงอายุมีสุขภาวะและคุณภาพชีวิต
2) ด้านสาธารณสุขและส่งเสริมคุณภาพชีวิต 3) ด้านความมั่นคงและการป้องกันบรรเทา ที่ดี
สาธารณภัย 4) ด้านเศรษฐกิจ การเกษตร และการท่องเที่ยว 5) ด้านโครงสร้างพื้นฐาน 6) ด้านการ
อนุรักษ์และการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และ 7) ด้านการบริหารจัดการ เครือข่ายทั้งหมดที่เข้ามาร่วมกับโครงการนี้ได้แก่
ทั่วไป 1. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นๆ ได้แก่ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ องค์การ
1. ในการบริหารจัดการโครงการ เทศบาลตำบลชมภูทำหน้าที่ประสานเครือข่าย และส่ง บริหารส่วนตำบลช่วงเปา องค์การบริหารส่วนตำบลป่าสัก จังหวัดลำพูน เทศบาลตำบลบ้านหลวง
เสริมสนับสนุนแต่ละเครือข่ายให้ทำงานร่วมกัน โดยมีรูปแบบและวิธีการสร้างเครือข่าย ดังต่อไปนี้ เทศบาลตำบลแม่แรง จังหวัดลำพูน เทศบาลตำบลยางเนิ้ง และเทศบาลตำบลในพื้นที่อำเภอสารภี
2. แต่งตั้งตัวแทนเครือข่ายเป็นคณะกรรมการในการบริหารจัดการเรื่องต่างๆ อีก 11 แห่ง
3. อุดหนุนงบประมาณเพื่อให้เครือข่ายมีทุนในการบริหารจัดการโครงการ 2. หน่วยงานราชการและรัฐวิสาหกิจ ได้แก่ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
4. รับสมัครจิตอาสาและพัฒนาอบรมให้ความรู้จากหน่วยงานต่างๆ
บ้านท่าต้นกวาว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านพญาชมภู โรงพยาบาลสารภีบวรพัฒนา สถาบัน
5. ประสานงานโครงการเพื่อขอสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้อง พัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) การประปาส่วนภูมิภาค สาขาอำเภอสารภี และศูนย์ศึกษา
และมีศักยภาพ นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) อำเภอสารภี
6. กระจายอำนาจให้แก่ชุมชน กลุ่ม และเครือข่ายในการดำเนินงานโดยตนเอง 3. หน่วยงานมหาชนและเอกชน ได้แก่ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
7. เข้าร่วมและเป็นคณะกรรมการในชมรม/กลุ่มต่างๆ เพื่อมีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่น มูลนิธิสร้างสรรค์สังคมและสุขภาวะ สถานบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ บริษัท นิ่มซี่เส็ง กรุ๊ป
8. ส่งเสริมให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลรักษาทรัพยากรของชุมชนด้วยตนเอง จำกัด บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จำกัด (มหาชน) (ดีแทค) และบริษัท ดูโฮม จำกัด
(มหาชน)
รางวัลพระปกเกล้า’ 61 รางวัลพระปกเกล้า’ 61