Page 381 - kpi20109
P. 381
0 1
องค์การบริหารส่วนตำบลหนองมะเขือ มีลักษณะเป็นชุมชนชนบท สมาชิกในชุมชน ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายนายกองค์การบริหารส่วนตำบลหนองมะเขือตั้งแต่แรกเริ่มที่ต้องการให้
ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เน้นการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน บริหารงานภายใต้วิสัยทัศน์ ผู้สูงอายุในชุมชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ดังวลีที่ว่า “สูงวัยอย่างมีคุณค่า ชราอย่างมีศักดิ์ศรี”
“อบต.น่าอยู่อาศัย ร่วมใจกันพัฒนา รักษาสิ่งแวดล้อม น้อมนำวัฒนธรรม ชุมชนเข้มแข็ง” จึงดำเนินการประสานงานไปยังเครือข่ายที่เกี่ยวข้องโดยแรกเริ่มได้มีการจัดทำโครงการพัฒนา
องค์การบริหารส่วนตำบลหนองมะเขือมีแนวคิดในการบริหารงานที่มุ่งเน้นประโยชน์และความสุข ศักยภาพผู้สูงอายุขึ้นก่อน โดยเชิญวิทยากรจากสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
ของชุมชน สร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ ใช้หลักการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดีและการจัดการความรู้ มาบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 ต่อมาโครงการดังกล่าว
ให้ความสำคัญกับทุนทางสังคมในพื้นที่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพผู้สูงอายุ มีการพัฒนาให้เป็นการริเริ่มโครงการโรงเรียนผู้สูงอายุอย่างเป็นรูปธรรม ซึ่งโครงการดังกล่าว
เยาวชน ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส มุ่งเน้นการประสานงานและการสร้างภาคีเครือข่ายการทำงานร่วมกับ สอดคล้องกับแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 และแผนระดับชาติที่ให้
หน่วยงานภาครัฐ เอกชนและประชาสังคมเพื่อจัดระเบียบชุมชน เสริมสร้างชุมชนที่เข้มแข็ง คามสำคัญกับการศึกษาเรียนรู้ตลอดชีวิต
ให้สอดคล้องกับแนวทางของบ้านเมืองที่น่าอยู่อย่างยั่งยืนและสังคมอยู่ดีมีสุข นอกจากนี้ องค์การ เครือข่ายสำคัญที่ก่อตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุ ประกอบด้วย
บริหารส่วนตำบลหนองมะเขือสนใจที่จะพัฒนาและยกระดับการบริหารงานให้ทันสมัย สนับสนุน 1. ตัวแทนผู้สูงอายุหมู่บ้านละ 5 คน จาก 9 หมู่บ้าน
ให้มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและปรับปรุง
การบริหารงานให้เกิดความคล่องตัวและทั่วถึง 2. ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองมะเขือ
3. ผู้บริหารสถานศึกษาในเขตพื้นที่ตำบลหนองมะเขือ จำนวน 3 แห่ง
สำหรับ เครือข่ายและการดำเนินงานที่สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นเลิศ ด้านการเสริมสร้าง 4. ตัวแทนผู้อำนวยการศูนย์บริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
เครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม ขององค์การบริหารส่วนตำบลหนองมะเขือ ได้แก่ (กศน.)
5. ตัวแทนผู้กำกับการสถานีตำรวจภูธรพล
โรงเรียนผู้สูงอายุ
6. เจ้าคณะตำบลหนองมะเขือ
จากฐานข้อมูลองค์การบริหารส่วนตำบลหนองมะเขือพบว่าประชากรจำนวน 4019 คน 7. กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลหนองมะเขือทุกหมู่บ้าน
มีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 619 คน คิดเป็นร้อยละ 15.40 ของประชากรในตำบล 8. บุคลากรขององค์การบริหารส่วนตำบลหนองมะเขือ
ในจำนวนนี้มีผู้สูงอายุติดสังคม จำนวน 533 คน คิดเป็นร้อยละ 13.26 เป็นผู้ทุพพลภาพจำนวน
64 คน คิดเป็นร้อยละ 1.59 และเป็นผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงจำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 0.54 ความโดดเด่นและเป็นเลิศของโครงการดังกล่าว คือ การบริหารโรงเรียนผู้สูงอายุ
ปัญหาของผู้สูงอายุตำบลหนองมะเขือ คือ การมีรายได้ไม่เพียงพอแก่การดำรงชีพ มีความเสี่ยงจาก ที่ครอบคลุมทุกมิติทั้งวิชาชีวิต วิชาชีพและวิชาการภายใต้ความร่วมมือของเครือข่าย โดยเฉพาะ
การเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคข้อเข่าเสื่อม ปัญหาสุขภาพ อย่างยิ่งการกำหนดให้เครือข่ายเป็นที่ปรึกษาซึ่งเป็นกลยุทธ์ที่ชาญฉลาดในการนำมาสู่ความสำเร็จ
ปากและฟัน การใช้ยาไม่ถูกต้อง อาศัยอย่างโดดเดี่ยวขาดผู้ดูแล สภาพจิตใจไร้ความสุขส่วนใหญ่ ของโรงเรียนเนื่องจากเป็นคลังสมองด้านแนวคิด พัฒนาหลักสูตรการเรียนรู้ วางแผนดูแลและ
จะเป็นโรคซึมเศร้า และอาการหลงลืม ควบคุมหลักสูตรของโรงเรียนผู้สูงอายุให้มีมาตรฐาน กล่าวได้ว่าเป็นหัวใจสำคัญในการวาง
บทบาทหน้าที่ได้เป็นอย่างดี ส่วนฝ่ายบริหารงานของโรงเรียนจะเป็นความรับผิดชอบขององค์การ
ดังนั้น จากฐานข้อมูลดังกล่าวเป็นแรงกระตุ้นให้เห็นถึงปัญหาและต้องรีบดำเนินการแก้ไข บริหารส่วนตำบลหนองมะเขือ ซึ่งคณะที่ปรึกษาโครงการจะประกอบด้วย
จึงนำข้อมูลดังกล่าวเข้าสู่เวทีประชาคมเพื่อหาทางแก้ไข โดยมีผู้บริหาร ฝ่ายสภา ผู้นำชุมชน
ผู้สูงอายุในหมู่บ้านหนองมะเขือร่วมกันพิจารณาและหาทางออกที่เหมาะสมกับบริบทในพื้นที่ 1. เจ้าอาวาสวัดเนกขัมมาภิรมย์
2. นายกองค์การบริหารส่วนตำบลหนองมะเขือ
รางวัลพระปกเกล้า’ 61 รางวัลพระปกเกล้า’ 61