Page 412 - kpi20109
P. 412
10 11
องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง มีหลักการทำงานโดย “ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง โครงการวันเต่าโลก ประจำปี 2560 (World Turtle Day 2017)
การพัฒนา” เปิดโอกาสให้ภาคประชาชน กลุ่มองค์กรภาคี เครือข่ายต่างๆ เข้ามามีส่วนร่วม
ในการบริหารงาน ที่จะช่วยตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างตรงจุดและสามารถแก้ไข องค์การบริหารส่วนตำบลมีอำนาจหน้าที่ในการพัฒนาตำบล ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม
ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล การดำเนินโครงการต่างๆ ขององค์การบริหาร และวัฒนธรรม โดยมีหน้าที่ต้องทำในการคุ้มครอง ดูแล และบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่วนตำบลอาศัยความร่วมมือ ร่วมแรง ร่วมใจ ทั้งจากคณะผู้บริหาร สมาชิกสภาองค์การบริหาร สิ่งแวดล้อม และตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กร
ส่วนตำบล ข้าราชการและพนักงานองค์การบริหารส่วนตำบล ผู้นำชุมชน ประชาชน และกลุ่มภาคี ปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 กำหนดให้องค์การบริหารส่วนตำบลมีอำนาจและหน้าที่ในการจัด
เครือข่ายต่างๆ ทำงานร่วมกันสู่เป้าหมายแห่งความสำเร็จและทุกคนมีความสุขสนุกกับงาน ระบบการบริการสาธารณะ ด้านการส่งเสริมการฝึกและประกอบอาชีพ ด้านการพาณิชย์และ
เกิดจิตสำนึกสาธารณะ รู้สึกถึงความเป็นเจ้าของท้องถิ่นและร่วมการพัฒนาตำบลกำแพงให้น่าอยู่ การส่งเสริมการลงทุนและด้านการส่งเสริมการท่องเที่ยว ประกอบกับองค์กร American
อย่างยั่งยืน Tortoise Rescue ในรัฐ California ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นองค์กรอนุรักษ์และช่วยเหลือ
เต่าบกและเต่าทะเล โดยองค์กรนี้ได้เล็งเห็นถึงการให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับเต่า รวมทั้ง
องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง ให้ความสำคัญต่อกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน ปลูกจิตสำนึกให้ทุกคนร่วมกันอนุรักษ์เต่า เนื่องจากเต่าเป็นสัตว์ที่มีแนวโน้มลดปริมาณลงเรื่อยๆ
ผู้นำชุมชน กลุ่มองค์กรภาคีเครือข่าย ทั้งภาครัฐและเอกชน ดังนี้ ทางองค์กร American Tortoise Rescue ได้กำหนดให้วันที่ 23 พฤษภาคม ของทุกปี เป็น
1. การมีส่วนร่วมในการรับรู้ สามารถให้ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ คือ การเปิด “วันเต่าโลก” (World Turtle Day)
โอกาสให้ประชาชนมีส่วนรับรู้ข้อมูลข่าวสาร ตลอดจนสามารถเสนอความคิดเห็นและเสนอแนะ
ในการดำเนินการโครงการต่างๆ องค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง ได้เล็งเห็นความสำคัญจึงได้จัดทำโครงการวันเต่าโลกขึ้น
2. มีส่วนร่วมในการเลือกและเสนอแนวทางเพื่อตัดสินใจ คือ การให้มีส่วนร่วม ตั้งแต่ปี 2558 เป็นต้นมา เพื่อรองรับการเปิดประชาคมอาเซียนและสามารถสร้างรายได้ให้กับชุมชน
ในการเลือกและเสนอรูปแบบในการดำเนินการโครงการ/กิจกรรมต่างๆ ตามความเหมาะสมของ พร้อมทั้งส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการท่องเที่ยว อีกทั้งเป็นการอนุรักษ์พันธุ์เต่า
พื้นที่และความต้องการของประชาชนในพื้นที่อย่างแท้จริง น้ำจืดและเต่าบก เต่ากระอาน ซึ่งเป็นเต่าที่ใหญ่ที่สุดที่ใกล้สูญพันธุ์ให้คงอยู่คู่ตำบลกำแพงสืบไป
โดยร่วมกับศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืดสตูล ตั้งอยู่ในพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล
3. มีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจ คือ มีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจ กำแพง เป็นสถานที่เพาะพันธุ์เต่ากระอาน เพื่อการอนุรักษ์ ซึ่งเต่ากระอานเป็นเต่าน้ำจืดที่หายาก
ในโครงการสำคัญต่างๆ ที่มีผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชน
และใกล้สูญพันธุ์ พบหลงเหลืออยู่ในคลองละงู จังหวัดสตูลเพียงแห่งเดียว
4. มีส่วนร่วมในการดำเนินงาน ติดตามตรวจสอบ คือ ให้ประชาชน ผู้นำชุมชน และ
กลุ่มภาคีเครือข่ายเข้ามามีส่วนร่วมกับเทศบาลในกระบวนการติดตามและประเมินผลการ โครงการวันเต่าโลก ประจำปี 2560 (World Turtle Day 2017) นี้ นับเป็นการจัดงาน
ดำเนินงานต่างๆ ครั้งที่ 3 เป็นโครงการที่จัดขึ้นเพื่อเป็นการส่งเสริม สนับสนุน เผยแพร่การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ของ
ตำบลกำแพง และจังหวัดสตูล ภายใต้รูปแบบต่างๆ ให้เป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลายทั้งในประเทศและ
5. กระบวนการร่วมรับประโยชน์และเป็นเจ้าของนโยบายสาธารณะ คือ การที่ประชาชน
และทุกภาคส่วนได้รับประโยชน์จากการดำเนินโครงการ/ กิจกรรมร่วมกัน ต่างประเทศ ส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน เป็นการส่งเสริมการมี
ส่วนร่วมทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน และชุมชนในพื้นที่ได้มีส่วนร่วมในกิจกรรม เป็นการสร้าง
สำหรับนวัตกรรมและการดำเนินงานที่เป็นเลิศที่สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นเลิศ รายได้ให้กับท้องถิ่นและกระตุ้นเศรษฐกิจภายในจังหวัด อีกทั้งเป็นการอนุรักษ์พันธุ์เต่าน้ำจืดและ
ด้านการเสริมสร้างเครือข่าย รัฐ เอกชน และประชาสังคมขององค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง เต่าบก เต่ากระอาน ซึ่งเป็นเต่าที่ใหญ่ที่สุดที่ใกล้สูญพันธุ์ให้คงอยู่คู่ตำบลกำแพงสืบไป
ได้แก่
รางวัลพระปกเกล้า’ 61 รางวัลพระปกเกล้า’ 61