Page 368 - kpi20858
P. 368
326
แสง-เงา การวิเคราะห์
มีการก าหนดค่าน ้าหนักของเส้น ท าให้ภาพ
ร่างลายเส้นดังกล่าวมีมิติมากยิ่งขึ้น
กล่าวคือ แม้จะเป็นเพียงภาพลายเส้น ทว่า
พระเทวาภินิมิตได้อาศัยคุณสมบัติของสี
สร้างค่าน ้าหนัก เขียนเส้นหนักและเบาเพื่อ
หวังผลด้านการลวงตา โดยการคัดน ้าหนัก
เส้นเข้มและเบาในบริเวณที่มีความ
เหมาะสม เช่น ที่บริเวณใบหน้า แขน ล าตัว
และขาของยักษ์ ซึ่งเป็นเหล่าพลชั้นเลว เป็น
ที่มาภาพ: สมภพ ภิรมย์, สมุดภาพ เทพ มนุษย์ ยักษ์ ลิง ต้น
(กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2525),89.
ตารางที่ 27 แสดงการวิเคราะห์รูปแบบ ผลงานภาพลายเส้นและภาพประกอบ โดย พระเทวาภินิมมิต
ที่มา: ผู้วิจัย
จากผลงานที่ปรากฏสะท้อนให้เห็นถึงแนวทางในการสร้างสรรค์ ที่น าเอาความงามของเส้น
สายที่งดงามอ่อนช้อยตามแบบฉบับของจิตรกรรมไทยตามขนบนิยม ปรับประยุกต์เข้ากับการแสดง
ความเหมือนจริง โดยพึ่งพาหลักวิทยาการด้านกายวิภาคจากศิลปะตะวันตก ซึ่งไม่เพียงปรากฏใน
รูปทรงสัตว์เท่านั้น แต่รูปทรงมนุษย์ ยักษ์ หรือลิง ก็ได้มีการผสานเอาลักษณะดังกล่าวเข้าไว้ด้วยกัน
จากการสร้างสรรค์นี้ส่งผลให้เกิดการต่อยอดในงานจิตรกรรมไทย ก่อให้เกิดรูปแบบผสมผสานแบบ
ใหม่ เพื่อให้เท่าทันกับกระแสนิยมที่เปลี่ยนแปลงในขณะนั้น ผลงานภาพร่างลายเส้นของท่านเป็นสิ่ง
บ่งชี้ให้เห็นถึงความรอบรู้ด้านจิตรกรรมไทย ตลอดจนความเข้าใจในหลักศิลปะตะวันตกอย่างลึกซึ้ง
4.1.2.3.3 ภาพประกอบ โดย เหม เวชกร
4.1.2.3.3.1 ภูมิหลัง
เหม เวชกร เป็นช่างเขียนคนส าคัญในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เคย
มีโอกาสท างานใกล้ชิดกับจิตรกรชาวอิตาเลียนคือ คาร์โล ริโกลี ซึ่งได้รับการว่าจ้างให้เดินทางเข้า
มาเขียนภาพที่พระที่นั่งอนันตสมาคม ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ในการนี้
ริโกลีได้ช่วยสอน และแนะน าวิธีการเขียนภาพแบบตะวันตกให้แก่เหม ซึ่งเป็นประโยชน์ในเวลา
ต่อมา คือเหมได้ใช้ความรู้นี้ในการประกอบอาชีพช่างเขียนภาพเรื่อยมา อย่างไรก็ตามความส าเร็จ