Page 150 - 22385_Fulltext
P. 150

การศึกษาการบังคับใช้                     การศึกษาการบังคับใช้
 พระราชบัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ. 2558 เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย   พระราชบัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ. 2558 เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย



 “ข้อยกเว้น” แห่งการเลือกปฏิบัติได้ ยกเว้น มาตรา 17 วรรคสอง     ก็ดี จำเป็นต้องกำหนดให้เฉพาะ “ผู้เสียหาย” หรือ “ผู้ได้รับผลกระทบ
 ของ พ.ร.บ. ความเท่าเทียมฯ ของประเทศไทยเรานี่เอง      โดยตรง” จากการกระทำหรือการละเมิดนั้นเท่านั้นที่มีอำนาจยื่นเรื่องดังกล่าวได้
                   ทั้งนี้ก็ด้วยเหตุผลเพื่อป้องกันมิให้บุคคลหรือองค์กรใด ๆ ก็ตามที่มิได้
   5.3  ควรพิจารณาทบทวนและแก้ไข มาตรา 18 แห่ง   มีความเกี่ยวข้องกับการละเมิดสิทธิเสรีภาพนั้นเลย มาใช้สิทธิร้องฟ้อง

 พ.ร.บ. ความเท่าเทียมฯ
                   ตามอำเภอใจโดยไม่มีฐานใด ๆ รองรับ เพราะนอกจากอาจทำให้คดีหรือคำร้อง
   รวมทั้ง ข้อ 5 และข้อ 18 แห่งระเบียบกระทรวงการพัฒนาสังคม  มีจำนวนมากเกินไปจนส่งผลให้การพิจารณาและพิพากษาหรือวินิจฉัยคดี
 และความมั่นคงของมนุษย์ว่าด้วย หลักเกณฑ์และวิธีการในการยื่นคำร้อง   ในภาพรวมทุกคดีต้องล่าช้ายิ่งขึ้นแล้ว ยังอาจเกิดกรณี “กลั่นแกล้ง”

 การพิจารณา และการวินิจฉัยการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมระหว่างเพศ   ฟ้องร้องกันจนกลายเป็นการละเมิดสิทธิเสรีภาพของบุคคลผู้ถูกฟ้องหรือ
 พ.ศ. 2559 (ต่อไปจะเรียกว่า “ระเบียบการยื่นคำร้องฯ ต่อคณะกรรมการ   ถูกร้องได้อีกด้วย
 วลพ.”) ในสองประเด็น ดังนี้
                           อย่างไรก็ดี จากข้อเท็จจริงในกรณีของสถานการณ์การเลือกปฏิบัติ
   5.3.1 ผู้มีสิทธิยื่นคำร้องต่อคณะกรรมการ วลพ. ได้ โดยปัจจุบัน   ที่เกิดขึ้น (ดูตัวอย่างกรณีศึกษา ปัญหา และข้อคิดเห็นต่อบทบัญญัติเรื่องนี้ได้
 มาตรา 18 กำหนดว่า “บุคคลใดเห็นว่าตนได้รับหรือจะได้รับความเสียหาย  ในรายงานฉบับนี้ บทที่ 3 หัวข้อ 8 “ปัญหาและอุปสรรคในการบังคับใช้
 จากการกระทำในลักษณะเป็นการเลือกปฏิบัติ” ซึ่งสอดคล้องกับข้อ 5 และ  กฎหมายฉบับนี้” ข้อย่อยที่ 8.2.1) อาจกล่าวได้ว่า ปัญหาการเลือกปฏิบัติ

 ข้อ 18 (1) ระเบียบการยื่นคำร้องฯ ต่อคณะกรรมการ วลพ. ที่โดยถ้อยคำ  ด้วยเหตุแห่งเพศ หรือการละเมิดสิทธิเสรีภาพในปริมณฑลนี้มีลักษณะพิเศษ
 และเจตนารมณ์มุ่งหมายให้สิทธิในการร้องเรียนไว้เฉพาะกับ “ผู้ได้รับหรือ    ที่แตกต่างออกไป ทั้งในแง่ของลักษณะและวิธีการกระทำ ความสัมพันธ์
 จะได้รับความเสียหาย” จากการถูกเลือกปฏิบัติโดยตรงเท่านั้น บุคคลอื่นใด  เชิงอำนาจ รวมทั้งความเหลื่อมล้ำทางสถานภาพระหว่างผู้ถูกเลือกกับ

 หรือแม้แต่ภาคประชาสังคมที่พบเห็นการกระทำในลักษณะของการเลือก  ผู้เลือกปฏิบัติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เรามักได้พบว่าการเลือกปฏิบัติอย่างชัดเจน
 ปฏิบัติ ไม่มีสิทธิยื่นคำร้องดังกล่าวได้ตราบใดที่ไม่ได้รับมอบหมายจาก    จำนวนไม่น้อยส่งผลกระทบเป็นการ “ทั่วไป” โดยมี “สังคมและสาธารณะ”
 ผู้เสียหายโดยตรง และย่อมแน่นอนว่าแม้คณะกรรมการ วลพ. เองได้พบเห็น  เป็นผู้เสียหาย เนื่องจาก “หลักความเสมอภาคเท่าเทียม” ที่รัฐประชาธิปไตย
 การกระทำในลักษณะของการเลือกปฏิบัติอย่างชัดเจนก็ไม่สามารถดำเนินการ  พึงเคารพและยึดถือปฏิบัติได้ถูกกระทบกระเทือนหรือล่วงละเมิดแล้ว ทั้งย่อม

 ใด ๆ เพื่อยุติการเลือกปฏิบัตินั้นได้เช่นกัน    เป็นเรื่องคาดเห็นได้ว่า การเลือกปฏิบัติที่ส่งผลเป็นการ “ทั่วไป” เช่นนี้
                   ย่อมเป็นการยากลำบากที่จะมีปัจเจกชนคนใดคนหนึ่งยอมเสียต้นทุนทั้งเวลา
   ต่อประเด็นนี้ ผู้ศึกษาเห็นว่า โดยหลักการทั่วไปของการร้องขอ

 ความเป็นธรรมจากฝ่ายตุลาการก็ดี หรือจากคณะกรรมการชุดต่าง ๆ ของรัฐ  และค่าใช้จ่ายเพื่อพิสูจน์ให้เห็นว่าเขาหรือสังคมโดยรวมจะได้รับความเสียหาย
 ที่มีอำนาจวินิจฉัยและสั่งการ ซึ่งอาจเรียกว่าองค์กรที่ทำหน้าที่ “กึ่งตุลาการ”   อย่างหนึ่งอย่างใดจากการเลือกปฏิบัติในลักษณะดังกล่าว และหากมองในมิติ




      สถาบันพระปกเกล้า                                            สถาบันพระปกเกล้า   135
   145   146   147   148   149   150   151   152   153   154   155