Page 56 - 22385_Fulltext
P. 56

การศึกษาการบังคับใช้                     การศึกษาการบังคับใช้
 พระราชบัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ. 2558 เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย   พระราชบัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ. 2558 เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย



   อาจกล่าวโดยสรุปได้ว่า หากเรายอมรับว่าการปรับเปลี่ยน  ให้ พ.ร.บ.ความเท่าเทียมฯ มีผลใช้บังคับเป็นกฎหมายด้วย 29
 ทัศนคติของผู้คนในสังคมให้ตระหนักรับรู้ถึงความเสมอภาคระหว่างเพศ      ต่อประเด็นว่าภายหลังการบังคับใช้กฎหมายมากว่าห้าปีแล้ว

 ก็ดี การทำให้ประชาชนปฏิบัติต่อทุกเพศอย่างให้เกียรติและเคารพสิทธิ  สถานการณ์การเลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่งเพศ ความเสมอภาคเท่าเทียม
 ของทุกเพศอย่างเท่าเทียมกันก็ดี การแก้ไขกฎหมาย กฎ ระเบียบทั้งหมด  ระหว่างเพศเป็นอย่างไรบ้าง เมื่อเปรียบเทียบกับสถานการณ์ก่อนมี

 ให้สอดคล้องกับหลักความเสมอภาคทางเพศก็ดี มิใช่เรื่องง่ายและจำเป็น  กฎหมายนั้น ผู้ให้สัมภาษณ์ส่วนใหญ่เห็นว่า สถานการณ์การเลือกปฏิบัติ
 ต้องใช้เวลา ในขณะที่จนถึงปัจจุบันประเทศไทยก็ยังเดินไปไม่ถึงเป้าหมายนี้   ด้วยเหตุแห่งเพศไม่ได้ดีขึ้นในระดับที่ควรจะเป็นหรือตามความคาดหวัง
 พ.ร.บ.ความเท่าเทียมฯ ที่แม้จะยังสร้างความเปลี่ยนแปลงในประเด็นนี้    ของคนที่ติดตามและทำงานด้านนี้ กล่าวคือ ยังคงมีการเลือกปฏิบัติ
 ได้ไม่มาก หรือกระทั่งถูกมองว่ายังไม่บรรลุวัตถุประสงค์เลย จึงยังคงเป็น  เกิดขึ้นในทุกภาคส่วน และจำนวนไม่น้อยเป็นการเลือกปฏิบัติในเชิงระบบ

 สิ่งจำเป็นอยู่สำหรับสังคมไทย
                     โดยกฎหรือระเบียบของหน่วยงานภาครัฐเอง ผู้ทำงานภาคประชาสังคม
   4.3  ข้อสังเกต และความคิดเห็นต่อการบังคับใช้และ  หลายรายตั้งข้อสังเกตว่า ภายหลังกฎหมายใช้บังคับการกระทำที่มีลักษณะ
 ความจำเป็นของ พ.ร.บ.ความเท่าเทียมฯ    เลือกปฏิบัติอย่างชัดเจนโจ่งแจ้งอาจลดลงบ้าง เช่น ก่อนปี พ.ศ. 2558

                     สามารถพบเห็นประกาศรับสมัครงานของหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน
   ในการศึกษาและประเมินผลสัมฤทธิ์ของ พ.ร.บ.ความเท่าเทียมฯ
 ครั้งนี้ นอกเหนือจากการศึกษาเอกสารและงานเขียนในรูปแบบต่าง ๆ แล้ว   ที่สื่ออย่างชัดเจนว่าไม่รับเกย์ กระเทย หรือทอมเข้าทำงาน แต่เมื่อมี

 ผู้ศึกษาใช้วิธีการศึกษาด้วยวิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In-depth   กฎหมายฉบับนี้ การกระทำในลักษณะดังกล่าวลดลงหรือพบเห็นได้ยากขึ้น
 Interview) เพื่อนำความเห็นและมุมมองของผู้มีประสบการณ์การทำงาน  อย่างไรก็ดี เหล่านี้มิใช่ตัวชี้วัดหรือสะท้อนได้ว่าสถานการณ์การเลือก
 ที่เกี่ยวข้องมาประกอบข้อเท็จจริงในประเด็นต่าง ๆ ด้วย โดยผู้ให้สัมภาษณ์   ปฏิบัติในประเทศไทยลดลงแล้ว ตรงกันข้ามมันยังคงดำรงอยู่แต่ถูก

 มีทั้งผู้บังคับใช้กฎหมาย ทั้งในระดับคณะกรรมการ อนุกรรมการตาม  ปรับเปลี่ยนแปรรูปไปเท่านั้น เช่น ไม่แสดงข้อความอย่างชัดเจน
 กฎหมาย พนักงานเจ้าหน้าที่ นักวิชาการด้านกฎหมายและสิทธิมนุษยชน   ในประกาศรับสมัครงาน แต่ผู้สมัครที่เป็นผู้หญิงก็ดี เป็นผู้มีความหลากหลาย
 รวมทั้งคนทำงานในภาคประชาสังคมซึ่งต่างเป็นผู้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ   ทางเพศก็ดี ยังคงถูกเลือกปฏิบัติในขั้นตอนการยื่นใบสมัคร ขั้นตอนของ
 และประสบการณ์การทำงานด้านสิทธิและความเท่าทียมทางเพศ ทั้งทำ  การสัมภาษณ์ หรือขั้นตอนของการทำสัญญาจ้าง ตัวอย่างที่เป็นรูปธรรม

 กิจกรรม หรือมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่อต้านการเลือกปฏิบัติมาอย่าง  อาทิ มีการตั้งเงื่อนไขเรื่องการสมรสหรือการตั้งครรภ์กับผู้สมัครที่เป็น
 ยาวนาน ในจำนวนนี้มีหลายคนมีบทบาทสำคัญหรือมีส่วนร่วมในการผลักดัน      29   อ่านรายละเอียดเกี่ยวกับการสัมภาษณ์ กลุ่มผู้ให้สัมภาษณ์ และสรุป

                     ความคิดเห็นจากการสัมภาษณ์ต่อการบังคับใช้ พ.ร.บ.ความเท่าเทียมฯ ทั้งหมดได้ใน
                     ภาคผนวก 1.



  0  สถาบันพระปกเกล้า                                             สถาบันพระปกเกล้า
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61