Page 85 - 22385_Fulltext
P. 85

การศึกษาการบังคับใช้                                                                การศึกษาการบังคับใช้
                     พระราชบัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ. 2558 เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย      พระราชบัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ. 2558 เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย



                  มีการดำเนินการต่าง ๆ ตามกฎหมายฉบับนี้อย่างชัดเจนและเป็นรูปธรรม                         น้อยกว่ากรณีที่เกิดขึ้นจริงมาก และคำร้องส่วนมากเป็นปัญหาของกลุ่มผู้มี
                  ที่สุด ในแง่หนึ่งผู้ให้สัมภาษณ์ส่วนใหญ่เห็นว่ากลไกนี้เองที่ช่วยสร้าง                   ความหลากหลายทางเพศ สาเหตุที่มีคำร้องไม่มากอาจมีสาเหตุได้ตั้งแต่

                  ความเปลี่ยนแปลงในเรื่องความเสมอภาคระหว่างเพศ และทำให้                                  ความรับรู้ของประชาชนถึงการมีอยู่ของกฎหมายฉบับนี้ยังไม่กว้างขวางพอ
                  การเลือกปฏิบัติที่เกิดขึ้นในสังคมไทยได้รับการแก้ไขได้จริง แม้โดย                       หรือแม้ประชาชนรู้ว่ามีกฎหมายแล้วแต่ก็ยังไม่รู้ว่าตนถูกเลือกปฏิบัติหรือไม่

                  กรอบอำนาจหน้าที่และขอบเขตการทำงานของคณะกรรมการ วลพ.                                    ไปจนรู้ว่าถึงมีกฎหมายแล้วและรู้ว่าตนถูกเลือกปฏิบัติ แต่ด้วยเหตุผล
                  จะส่งผลให้ปัญหาถูกแก้ไขเพียงเฉพาะเรื่อง เฉพาะรายเท่านั้น แต่หาก                        ความไม่พร้อมบางประการ เกรงถึงความไม่ปลอดภัยในชีวิตร่างกายหรือ
                  เปรียบเทียบกับช่วงเวลาก่อนปี 2558 ที่ผู้ได้รับความเสียหายจาก                           ทรัพย์สินหากดำเนินการร้องเรียน หรือไม่รู้ว่าจะใช้สิทธินี้ได้ที่ไหนบ้าง
                  การถูกเลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่งเพศไม่มีช่องทางที่เฉพาะเจาะจง                            ทำให้ผู้เสียหายเลือกที่จะไม่ร้องเรียนมาตามกลไกนี้ ส่วนเหตุผลที่แทบไม่มี

                  เพื่อร้องขอความเป็นธรรมเลย การมีอยู่ของคณะกรรมการ วลพ. จึงนอกจาก                       เรื่องร้องจากผู้หญิงเลย อาจเป็นเพราะผู้หญิงสามารถใช้กฎหมายอื่น ๆ
                  จะเป็นที่พึ่งพิงให้กับผู้เสียหายได้แล้ว ยังนับเป็นกลไกสำคัญที่ทำให้                    ที่เขียนรับรองสิทธิไว้แล้วเพื่อเรียกร้องความเป็นธรรมได้ ในขณะที่กลุ่มผู้มี

                  หน่วยงานองค์กรต่าง ๆ ต้องระมัดระวังมากขึ้นเพื่อไม่ให้ตนต้องตกเป็น                      ความหลากหลายทางเพศไม่มีกฎหมายอื่นใดรับรองสิทธิของพวกเขา
                  คู่กรณีที่ถูกร้องเรียน อย่างไรก็ตาม ภายหลังบังคับใช้กฎหมายฉบับนี้                      มาก่อน เช่นนี้เอง จึงแสดงให้เห็นว่าคณะกรรมการ วลพ. เป็นหน่วยงาน
                  มากว่า 5 ปี และมีคณะกรรมการ วลพ. มาแล้วสองชุด ผู้ให้สัมภาษณ์                           ที่ช่วยแก้ปัญหาการเลือกปฏิบัติได้เพียงบางเรื่องบางกรณีเท่านั้น อนึ่ง
                  ทั้งที่เป็นคณะกรรมการ วลพ. เอง และอดีตคณะกรรมการ วลพ.                                  แม้คณะกรรมการ วลพ. ชุดแรกจะพยายามแก้ไขปัญหานี้ด้วยการ

                  คนทำงานในภาคประชาสังคม รวมทั้งผู้ที่เคยใช้สิทธิร้องเรียนมาตามกลไกนี้                   ทำความร่วมมือ (MOU) กับภาคประชาสังคมที่อยู่ในเครือข่ายเพื่อช่วย
                  ต่างสะท้อนถึงปัญหาและอุปสรรคที่หลากหลาย ทั้งที่เกิดจากตัวบท                            ประชาสัมพันธ์กฎหมาย หรือคอยรับหรือนำเรื่องจากจังหวัดหรือพื้นที่
                  กฎหมาย การใช้การตีความ และกระบวนการทำงานของคณะกรรมการ                                  ต่าง ๆ ของประเทศเพื่อร้องเข้ามายังคณะกรรมการ วลพ. แต่ความร่วมมือ

                  วลพ. ดังนี้                                                                            ดังกล่าวก็ไม่ปรากฎแล้วในปัจจุบัน

                          8.2.1 โดยผลของอำนาจหน้าที่ที่บัญญัติไว้ตามกฎหมาย                                       ต่อประเด็นการทำงานเชิงรับที่เป็นปัญหาในมุมมองของ

                  คณะกรรมการ วลพ. ไม่สามารถทำงานเชิงรุกได้ ในขณะที่การทำงาน                              ผู้ให้สัมภาษณ์ส่วนใหญ่นี้ ยังเป็นผลสืบเนื่องมาจากเงื่อนไขการยื่นคำร้อง
                  เชิงรับ กล่าวคือ การรับเรื่องร้องเรียนก็ทำได้ภายในขอบเขตจำกัดเท่านั้น                  ที่กำหนดไว้ทั้งใน พ.ร.บ. ความเท่าเทียมฯ (มาตรา 18) เอง และตามข้อ 5
                  ดังกล่าวไว้หลายแห่งในรายงานฉบับนี้ไปแล้วว่า ตั้งแต่กฎหมายมีผลใช้                       และข้อ 18 (1) แห่งระเบียบกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง
                  บังคับจนถึงปัจจุบันมีเรื่องร้องเรียนมาที่คณะกรรมการ วลพ.                               ของมนุษย์ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการในการยื่นคำร้อง การพิจารณา

                  เพียง 60 เรื่องเท่านั้น ซึ่งผู้ให้สัมภาษณ์ส่วนใหญ่ให้ความเห็นว่าจำนวนดังกล่าว          และการวินิจฉัยการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมระหว่างเพศ พ.ศ. 2559 ด้วย




              0    สถาบันพระปกเกล้า                                                                                                                  สถาบันพระปกเกล้า
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90