Page 142 - kpiebook62005
P. 142

บทบาทภารกิจในการจัดการน  าบริโภค

                        ภารกิจในการจัดบริการน  าสะอาดในชุมชนเป็นบทบาทและหน้าที่หนึ่งซึ่งรัฐจะต้องส่งเสริมให้

               ประชาชนมีน  าสะอาดเพื่อเป็นน  าดื่มและใช้อย่างเพียงพอ มีคุณภาพชีวิตที่ดี พระราชบัญญัติสภาต าบล และ

               องค์การบริหารส่วนต าบล พ.ศ. 2537 มาตรา 68 ก าหนดให้ องค์การบริหารส่วนต าบล จัดท ากิจการให้มีน  า

               เพื่อการอุปโภค บริโภค และการเกษตร และ พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 มาตรา 51 มาตรา 53 และ

               มาตรา 56 ก าหนดให้ เทศบาลต าบล เทศบาลเมือง และเทศบาลนคร จัดท ากิจการให้มีน  าสะอาด หรือการ

               ประปาเพื่อประชาชน





                                           ผู้จัดท้ำ             ผู้ควบคุม              ผู้ดูแล
                     ผู้ผลิตน ้ำ            เกณฑ์                อนุญำต              ตรวจสอบเฝ้ำ
                      บริโภค
                                          มำตรฐำน                 กิจกำร             ระวังคุณภำพ











                           ข้อมูลข่าวสารที่ให้แก่     ผู้บริโภค        การสื่อสารจากผู้บริโภคถึงหน่วยงาน
                         ประชาชนเพื่อการเข้าถึงน ้า                     หรือการมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง
                           ดื่มที่สะอาดปลอดภัย                          คุณภาพน ้าและสะท้อนปัญหาเพื่อ
                                                                      พัฒนาปรับปรุงคุณภาพน ้าให้ปลอดภัย

               รูปที่ 6.1 บทบาทในการจัดการน  าบริโภคและการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร



                        การด าเนินการจัดการน  าบริโภคให้สะอาดปลอดภัย มีปัจจัยต่าง ๆ เข้ามาเกี่ยวข้องหลายส่วน จึงต้อง

               มีการด าเนินการร่วมกันหลายภาคส่วนและหลายมิติ ผู้มีหน้าที่ผลิตน  าให้บริการแก่ประชาชน ต้องมีความ

               ตระหนักรวมถึงมีองค์ความรู้ในการผลิตน  าสะอาดได้ตามเกณฑ์มาตรฐานตามที่ผู้จัดท าเกณฑ์ก าหนด ผู้ควบคุม

               อนุญาตกิจการ และผู้ดูแลตรวจสอบเฝ้าระวังคุณภาพต้องมีระบบการดูแลตรวจสอบเฝ้าระวังเพื่อรักษา

               มาตรฐานคุณภาพน  า ซึ่งควรมีการสื่อสารให้ความรู้และข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชนหรือผู้บริโภคเกี่ยวกับความ

               ปลอดภัยด้านน  า การเลือกบริโภคน  าที่สะอาดปลอดภัย รวมถึงการส่งเสริมการพิทักษ์สิทธิประโยชน์ตาม

               กระบวนการคุ้มครองผู้บริโภคซึ่งเป็นการผลักดันให้ผู้ประกอบกิจการด้านน  าใส่ใจและให้ความส าคัญกับความ

               ปลอดภัยของน  ามากยิ่งขึ น รวมทั งประชาชนผู้ใช้น  าควรมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังคุณภาพน  าและสะท้อน

               ปัญหาต่าง ๆ ไปยังผู้ผลิตหรือผู้ควบคุมการผลิตเพื่อพัฒนาปรับปรุงคุณภาพให้ปลอดภัยอย่างสม่ าเสมอ





                                                          -115-
   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147