Page 179 - kpiebook63019
P. 179
174
การประเมินผลการด าเนินงานของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ โดยใช้เกณฑ์และตัวชี้วัดของ Inter-Parliamentary Union (IPU)
ส่วนที่ 2: การเป็นตัวแทนของประชาชน
และการท าหน้าที่ด้านนิติบัญญัติของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
ค าชี้แจง : โปรดท าเครื่องหมาย หรือ ลงในช่องว่างที่ตรงกับความคิดเห็นของท่านมากที่สุด
2.1 การเป็นตัวแทนของประชาชน
** หมายเหตุ รัฐสภา หมายถึง สภานิติบัญญัติแห่งชาติ
ระดับความคิดเห็น
ข้อที่ ข้อความ มาก มาก ปาน น้อย น้อย ไม่มี ไม่ หมายเหตุ
ที่สุด (4) กลาง (2) ที่สุด เลย ทราบ
(5) (3) (1) (0) (99)
1 สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ประกอบด้วย ผู้แทนที่มี
ความหลากหลายด้านความคิดทางการเมือง
2 ความเหมาะสมของสัดส่วนของผู้หญิงในจ านวน
สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติทั้งหมด
3 ความเหมาะสมของสัดส่วนผู้แทนจากกลุ่มคน
ส่วนน้อย/ผู้ด้อยโอกาสในสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
4 ความเหมาะสมของสัดส่วนผู้แทนของภูมิภาค
ในสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
5 สภานิติบัญญัติแห่งชาติมีการบริหารจัดการ
ที่มั่นใจได้ว่าจะท าให้สมาชิกสภานิติบัญญัติ
แห่งชาติท าหน้าที่อย่างมีประสิทธิผล
6 สิ่งอ านวยความสะดวกและวิธีปฏิบัติของ
สภานิติบัญญัติแห่งชาติ เอื้อให้สมาชิกสภา
นิติบัญญัติแห่งชาติ ชายหญิงท างานร่วมกัน
7 สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ทุกคนมีสิทธิ
แสดงความคิดเห็นได้อย่างเสรี
8 สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ได้รับการปกป้อง
จากการแทรกแซงของฝ่ายบริหาร ในการแสดง
ความคิดเห็น
9 องค์กรอื่น ๆ เช่น ฝ่ายบริหารและฝ่ายตุลาการ
ไม่มีการแทรกแซงในการด าเนินงานของสมาชิก
สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ทั้งทางตรงและทางอ้อม
10 สภานิติบัญญัติแห่งชาติ เป็นเวทีการอภิปราย
ประเด็นความห่วงกังวลของประชาชนได้อย่างมี
ประสิทธิผล
11 กระบวนการแต่งตั้งสมาชิกสภานิติบัญญัติ
แห่งชาติ มีความโปร่งใส
ภาคผนวก -5
การประเมินผลการดำเนินงานของรัฐสภาไทย (สภานิติบัญญัติแห่งชาติ) โดยใช้เกณฑ์และตัวชี้วัดของ Inter-Parliamentary Union (IPU)