Page 157 - kpi17733
P. 157
156 15
โครงการส่งเสริมศักยภาพการจัดการน้ำอย่างมีส่วนร่วมนี้ องค์การบริหาร
๏
ด้านเศรษฐกิจ จากเดิมที่เกษตรกรกลุ่มผู้ใช้น้ำทะเลหลวง ทำนาได้ปีละ
ส่วนจังหวัดสุโขทัยถือได้ว่าเป็นแกนหลักในการดำเนินการส่งเสริมศักยภาพ
1 ครั้ง หรือบางปีทำนาไม่ได้เลยเนื่องจากไม่มีน้ำ ปัจจุบันสามารถทำนาได้
การจัดการน้ำของกลุ่มผู้ใช้น้ำทะเลหลวง นอกจากจะเป็นทั้งผู้ริเริ่มสร้างเครือข่าย ปีละ 2-3 ครั้ง รวมทั้งมีน้ำเพื่อปลูกผักสวนครัวเสริม เลี้ยงปลาเพื่อรับ
บริหารจัดการน้ำแล้ว ยังสนับสนุนการจัดตั้งศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ประทานในครอบครัวและเหลือไว้ขาย ทำให้มีรายได้เพิ่มขึ้นเดือนละ
ดูแลระบบสื่อสารรายงานข้อมูลปริมาณและสภาพอากาศร่วมกับจังหวัดสุโขทัย จัดทำ 3,000-4,000 บาท ได้มีการจัดตั้งตลาดกลางปลาบริเวณด้านข้าง
แผนพัฒนาท้องถิ่นแบบบูรณาการเรื่องการบริหารจัดการน้ำและสิ่งแวดล้อม จัดสรร ทุ่งทะเลหลวง เพื่อเป็นแหล่งซื้อขายปลากระตุ้นเศรษฐกิจชุมชน
งบประมาณสำหรับก่อสร้างเขื่อน ฝาย ขุดลอกคลอง ปลูกหญ้าแฝกป้องกันตลิ่ง
๏
ด้านสังคม ชาวสุโขทัยมีรายได้เพิ่มขึ้นและความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น อีกทั้งสภาพ
พัฒนาแหล่งน้ำ ป่าชุมชน พัฒนาดิน และสิ่งแวดล้อม รวมถึงบูรณาการความร่วมมือ แวดล้อมในชุมชน มีการจัดสรรการใช้ประโยชน์ในที่ดินทำกินอย่างเป็น
และสร้างเครือข่ายบริหารจัดการน้ำให้มีความเข้มแข็ง มีการจัดอบรมให้ความรู้เรื่อง ระเบียบ ความเปลี่ยนแปลงที่เห็นอย่างชัดเจน คือ คนไม่อพยพย้าย
การจัดการน้ำ ภัยที่จะมากับอุทกภัย จัดอบรม อปพร. ผู้คอยช่วยเหลือผู้ประสบภัย ถิ่นฐานไปทำงานนอกพื้นที่
อบรมความรู้การปลูกข้าว ทำประมง เลี้ยงปลา
๏ ด้านสิ่งแวดล้อม เกษตรกรลดการใช้สารเคมี มาใช้ปุ๋ยชีวภาพมากขึ้น
การดำเนินกิจกรรมของเครือข่ายบริหารจัดการน้ำ ภายใต้โครงการส่งเสริม
ศักยภาพการจัดการน้ำอย่างมีส่วนร่วมก่อให้เกิดผลประโยชน์ต่อจังหวัดสุโขทัยหลาย องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุโขทัยทำการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่บริเวณ
ทุ่งทะเลหลวง (แก้มลิง) ปลูกต้นไม้เพิ่มขึ้น ให้เป็นสวนสาธารณะที่เป็น
ประการ ดังนี้
แหล่งเรียนรู้ด้านต้นไม้และสิ่งแวดล้อมให้แก่เยาวชน เป็นแหล่งศึกษาวิจัย
๏
ด้านแก้ไขปัญหาอุทกภัย และภัยแล้ง ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 เป็นต้นมา พลังงานสะอาด นอกจากนี้ องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุโขทัยได้สร้าง
จังหวัดสุโขทัยไม่เคยเกิดอุทกภัยร้ายแรง มีการวางแผนการใช้น้ำ ระยะสั้น เครือข่ายป่าชุมชน ทำให้ชาวสุโขทัยเห็นประโยชน์ของป่าในการซับน้ำ
ระยะยาว ร่วมกันทุกภาคส่วน สร้างความตระหนักปัญหาการสร้าง
บรรเทาปัญหาน้ำท่วม และใช้ประโยชน์จากป่าเพื่อเป็นอาหาร สมุนไพร
สิ่งกีดขวางทางน้ำ การตัดไม้ ทำลายป่า การส่งเสริมให้ประชาชนร่วมกัน พึ่งพาและฟื้นฟูอนุรักษ์ป่าโดยคนสามารถอยู่กับป่าได้
ดูแลคูคลอง แหล่งน้ำไม่ให้ตื้นเขิน และมีระบบสื่อสารข้อมูลปริมาณน้ำ
ปริมาณฝน สภาพอากาศ และการเตือนภัยให้แก่ประชาชน และสามารถ โครงการเสริมสร้างค่านิยมการท่องเที่ยวสุโขทัย :
บรรเทาปัญหาภัยแล้ง โดยบูรณาการความร่วมมือทุกภาคส่วนในการ อบจ.ชวนเที่ยว โดย อบจ.สุโขทัย
บริหารจัดการน้ำทำให้กลุ่มผู้ใช้น้ำทะเลหลวงที่ทำการเกษตรในพื้นที่
19,028 ไร่ มีน้ำเพียงพอในการทำการเกษตรได้ตลอดปี และสามารถ
ทิศทางการพัฒนาจังหวัดสุโขทัยตามทิศทางการพัฒนาประเทศในระยะต่อไป
ผันน้ำจากแม่น้ำปิงจากจังหวัดกำแพงเพชรเข้ามาตามโครงการท่อทองแดง คือ มุ่งเน้นการพัฒนาการท่องเที่ยวด้านประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และสร้างคุณค่า
(ภูมิปัญญาเมื่อ 700 ปี ที่ผ่านมา) ผ่านอำเภอคีรีมาศมาใช้ในเขตพื้นที่ ผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น ดังนั้น การส่งเสริมการท่องเที่ยวจังหวัดสุโขทัยภายใต้ต้นทุนทาง
จังหวัดสุโขทัย นอกจากนี้ ยังจัดสรรน้ำไปผลิตเป็นน้ำประปาเพื่อการ วัฒนธรรม “มรดกโลกจังหวัดสุโขทัย” จึงเป็นสิ่งสำคัญ อีกทั้งจังหวัดสุโขทัยเป็น
อุปโภคและบริโภคให้แก่ประชาชนได้ถึง 300,000 คน จังหวัดที่เป็นจุดหมายปลายทางลำดับต้นๆ ของนักท่องเที่ยว ระหว่างปี ค.ศ.2014-2016
รางวัลพระปกเกล้า’ 58 รางวัลพระปกเกล้า’ 58