Page 154 - kpi17733
P. 154
152 15
องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุโขทัย บริหารงานภายใต้ยุทธศาสตร์ “สังคม
สวัสดิการชุมชน กลุ่มผู้ใช้น้ำ กลุ่มบุคลากรวัด ชมรมครู กลุ่มเกษตรกร และ
เข้มแข็ง ส่งเสริมการมีสุขภาพดี การเรียนรู้ตลอดชีวิต การพัฒนาคุณภาพชีวิต
ภาควิชาการ มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นต้น
ความมั่นคงของสังคม ความเป็นประชาธิปไตย มีความโปร่งใส และการสร้าง
สำหรับ เครือข่ายและการดำเนินงาน ที่สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นเลิศ ด้านการ
เครือข่ายพัฒนาท้องถิ่นอย่างมีส่วนร่วม” ซึ่งวิธีการสร้างเครือข่ายเพื่อพัฒนา
เสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม ของ องค์การบริหารส่วนจังหวัด
ท้องถิ่นอย่างมีส่วนร่วมนั้น องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุโขทัยได้ใช้กลไกการ
สุโขทัย ได้แก่
ขับเคลื่อน 2 ส่วน คือ กลไกภายในองค์กร และกลไกภายนอกองค์กร
กลไกภายในองค์กร เริ่มจากการพัฒนาบุคลากรภายในองค์กรให้เข้มแข็ง
โดยใช้กระบวนการ PERFECT ซึ่งมีที่มาจาก P= Personnel (บุคลากรสังกัด โครงการส่งเสริมศักยภาพการจัดการน้ำอย่างมีส่วนร่วม
อบจ.), E= Excellent (ความมุ่งหวังให้องค์กรมีคุณภาพและก้าวสู่ความเป็นเลิศ),
สุโขทัยในอดีตเป็นราชธานีแห่งหนึ่งที่มีการวางระบบชลประทานเพื่อนำน้ำจาก
R= Ready (ความพร้อมเพรียงของหมู่คณะและอาคารสถานที่ (5ส), F= Forces แม่น้ำและน้ำป่าที่ไหลลงมาจากภูเขามาใช้ เพื่อการทำนาและบริโภคอย่างมี
(รวมพลัง ร่วมแรงร่วมใจ ความสามัคคีในการทำงาน), E= Earnest (ความ ประสิทธิภาพ เมื่อกาลเวลาผ่านไปมีการย้ายถิ่นฐานมาตั้งชุมชนใกล้แม่น้ำยม (ตำบล
กระตือรือร้น ความมุ่งมั่น ตั้งใจและเต็มใจในการพัฒนาองค์กรสู่ความเป็นเลิศ),
ธานี ในปัจจุบัน) มีจำนวนประชากรเพิ่มขึ้น เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวิถีชีวิต
C= Complete (การดำเนินงานบรรลุวัตถุประสงค์อย่างเป็นระบบ มีระเบียบ เป็นเหตุให้จังหวัดสุโขทัยเป็นหนึ่งในหลายจังหวัดที่ประสบอุทกภัยเป็นประจำทุกปี
สามารถตรวจสอบได้), T= Tradition (การสร้างวัฒนธรรมองค์กรให้บุคลากร สร้างความเดือดร้อนทุกข์ยากแก่ประชาชน สูญเสียรายได้ทางเศรษฐกิจจำนวนมาก
อบจ.สุโขทัยมีความสามัคคี ร่วมแรงร่วมใจพัฒนางาน พัฒนาองค์กร) องค์การ เนื่องมาจากจังหวัดสุโขทัยอยู่ในที่ลุ่มเป็นจุดรวมน้ำของลุ่มแม่น้ำยม พื้นที่ป่าต้นน้ำ
บริหารส่วนจังหวัดยังมีกิจกรรม เช่น กองทุนเพื่อนช่วยเพื่อน อบจ.สุโขทัย ปณิธาน ตอนบนถูกทำลาย และขาดแคลนแหล่งกักเก็บน้ำขนาดใหญ่ในพื้นที่ลุ่มน้ำตอนบน
ความดี ปีมหามงคล การประเมินเพื่อประกันคุณภาพผลงานฯ เพื่อให้องค์การบริหาร เพื่อช่วยชะลอน้ำหลาก อีกทั้งประสิทธิภาพของระบบระบายน้ำไม่เพียงพอ เนื่องจาก
ส่วนจังหวัดสุโขทัยเป็นองค์กรน่าอยู่ ทำงานร่วมกันอย่างมีความสุข ตื้นเขิน ถูกบุกรุก มีการก่อสร้างสิ่งกีดขวางทางน้ำ หรือการเปลี่ยนแปลงสภาพการใช้
ที่ดิน เป็นต้น ทำให้เกิดอุทกภัยในลักษณะน้ำป่าไหลหลาก หรือน้ำท่วมขังฉับพลัน
กลไกภายนอกองค์กร องค์การบริหารส่วนจังหวัดได้ชักชวนพลังท้องถิ่นให้เข้า ลุ่มน้ำยมมีหมู่บ้านทั้งหมด 2,472 หมู่บ้าน เป็นหมู่บ้านที่ประสบปัญหาอุทกภัย
มามีส่วนร่วมในการดำเนินโครงการต่างๆ ขององค์การบริหารส่วนจังหวัด โดยเฉพาะ 672 หมู่บ้าน โดยหมู่บ้านที่ประสบปัญหาอุทกภัยส่วนใหญ่จะอยู่ในพื้นที่จังหวัด
อย่างยิ่งการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาท้องถิ่น ตลอดจนโครงการและกิจกรรม สุโขทัยถึง 307 หมู่บ้าน หรือคิดเป็นร้อยละ 45.68 นอกจากนี้ ในเวลาเพียงสอง
ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านโครงสร้างพื้นฐาน การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม สามเดือนน้ำจะลดลงอย่างรวดเร็ว และเกิดภาวะขาดแคลนน้ำอย่างรุนแรง มีน้ำไม่
ทั้งด้านการท่องเที่ยว และมีส่วนร่วมในการติดตาม ประเมินและพัฒนาผลการดำเนินงาน
เพียงพอต่อการทำการเกษตรในช่วงเดือน มีนาคม-พฤษภาคม ทำให้พื้นที่การเกษตร
โดยเครือข่ายที่มีส่วนสำคัญในการดำเนินกิจกรรมและโครงการต่างๆ อาทิ ชมรม ได้รับความเสียหาย เกิดปัญหาการบริหารจัดการน้ำขึ้น เกษตรกรซึ่งเป็นอาชีพหลัก
สามพี่น้องท้องถิ่นสุโขทัย ที่ประกอบไปด้วย อบจ. เทศบาล และ อบต.ในจังหวัด ของชาวสุโขทัยมีความขัดแย้งในเรื่องของการจัดการน้ำในการทำการเกษตร รวมทั้ง
สุโขทัย จำนวน 91 แห่ง กลุ่มกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้นำชุมชนตลอดจนภาคเอกชน การอุปโภคและบริโภค โดยเฉพาะในช่วงฤดูแล้งที่ขาดแคลนน้ำ เพราะแม่น้ำยม
ภาคประชาสังคม สมาคมการท่องเที่ยวจังหวัดสุโขทัย กลุ่มนักธุรกิจรุ่นใหม่
แห้งขอด และแหล่งกักเก็บน้ำไม่เพียงพอ
ภาคประชาชน เช่น กลุ่มสมัชชาสุขภาพจังหวัด สมาคมครูเครือข่าย กลุ่มกองทุน
รางวัลพระปกเกล้า’ 58 รางวัลพระปกเกล้า’ 58