Page 165 - kpi17733
P. 165
16 165
เทศบาลนครภูเก็ต
อยู่ในพื้นที่ ซึ่งจัดได้ว่าเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงของ เครือข่ายอนุรักษ์และพัฒนาย่านการค้าเมืองเก่าภูเก็ต
ประเทศไทย โดยมีนักท่องเที่ยวเข้ามาในพื้นที่จังหวัดภูเก็ตถึงปีละ 12 ล้านคน ความการซบเซาของเศรษฐกิจในเขตเมืองเก่า เทศบาลนครภูเก็ตจึงได้ทำการ
นอกจากนี้ ยังมีประชากรแฝงประมาณ 3 แสนคน สำหรับในเขตเทศบาลแม้มี อนุรักษ์อาคารที่มีสถาปัตยกรรม ชิโนโปรตุกีส ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเพื่อฟื้น
ประชากร 7 หมื่นกว่าคน แต่เทศบาลต้องดูแลประชากรเพิ่มอีก 2 เท่าตัว
เศรษฐกิจ ซึ่งเทศบาลได้สร้างความเป็นเจ้าของให้เกิดขึ้นในชุมชนเพราะคิดว่าวิธีนี้
ทั้งนี้ การที่มีคนหลั่งไหลเข้ามาเป็นจำนวนมาก แม้จะสร้างโอกาสให้พื้นที่ต่างๆ จึงจะสามารถอนุรักษ์อาคารเอาไว้ได้อย่างยั่งยืน และในภาวะที่ขาดแคลน
ในจังหวัดภูเก็ตมีเศรษฐกิจที่ดี แต่ก็สร้างปัญหาให้ท้องถิ่นต้องแก้ไขมากมาย และ
งบประมาณแต่ต้องพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวให้สวยงาม จึงได้ร่วมมือกับหน่วยงาน
ในภาวะที่เทศบาลขาดแคลน ทั้งงบประมาณ เทคโนโลยี ความรู้ทางวิชาการ และ ภาครัฐ เช่น การไฟฟ้า กรมการท่องเที่ยว ให้สนับสนุนงบประมาณให้แก่เทศบาล
บุคลากรที่เชี่ยวชาญ เทศบาลกลับต้องรับมือกับปัญหาที่เกิดขึ้น อาทิ ปัญหาขยะ
ในการปรับปรุงภูมิทัศน์เมือง ซึ่งเทศบาลประสบความสำเร็จทั้งการอนุรักษ์
ล้นเมือง การซบเซาของเศรษฐกิจย่านการค้าเมืองเก่า การระบาดของโรคติดต่อ
สถาปัตยกรรม และวิถีชีวิตวัฒนธรรม จนถือว่าโครงการนี้สร้างแรงบันดาลใจให้กับ
ซึ่งโดยภาพรวมเทศบาลนครภูเก็ต แบ่งปัญหาที่ต้องรับมือออกเป็น 3 มิติ ได้แก่ เอกชนหลายรายในการนำรูปแบบสถาปัตยกรรมไปสร้างในอาคารของตนเอง ต่อยอด
เป็นธุรกิจรูปแบบใหม่ เช่น เปลี่ยนบ้านสไตล์ชิโน เป็นเกสเฮ้าส์ ราคาบ้านและที่ดิน
๏ มิติ “คน” ทำอย่างไรให้มีสุขภาพแข็งแรง มีคุณภาพชีวิตที่ดี
ในเขตเมืองเก่าเพิ่มสูงขึ้น อาหารท้องถิ่นบาบ๋าถูกขึ้นทะเบียนมรดกโลก
๏ มิติ “สิ่งแวดล้อม” ทำอย่างไรให้มีการจัดการที่ยั่งยืน
โดยในช่วงแรกจะเป็นด้านโครงสร้างพื้นฐานและการอนุรักษ์สถาปัตยกรรม
๏ มิติ “เศรษฐกิจ” ทำอย่างไรให้เขตเมืองเก่ามีการอนุรักษ์อาคาร และสร้าง โดยเริ่มจากการบำรุงรักษาอาคารโดยเจ้าของอาคารรุ่นหลังซึ่งเป็นผู้สืบทอดมรดกทาง
มูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรมของบรรพบุรุษ และได้มีการรวบรวมข้อมูล หลักฐาน ประวัติของอาคาร
ที่มีคุณค่า โดยกลุ่มผู้สนใจประวัติศาสตร์เมืองภูเก็ต ศูนย์วัฒนธรรมจังหวัดภูเก็ต
ที่กล่าวมาล้วนแต่เป็นคำถามว่าเทศบาลนครภูเก็ตจะทำอย่างไรที่จะ
มูลนิธิท้าวเทพกระษัตรี-ท้าวศรีสุนทร หน่วยอนุรักษ์ศิลปกรรมท้องถิ่นภูเก็ต วิทยาลัย
แก้ปัญหาเหล่านี้ให้บรรลุผลสำเร็จและเป็นไปอย่างยั่งยืน คำตอบก็คือ ทุกคนก็ต้อง อาชีวศึกษาภูเก็ต กรมศิลปากร สยามสมาคม สมาคมสถาปนิกสยาม รวมทั้ง
ช่วยกัน เพราะถ้าเทศบาลนครภูเก็ตทำคนเดียวก็คงไม่สามารถแก้ปัญหาได้อย่าง
การเสนอแผนการอนุรักษ์การจัดการองค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศของญี่ปุ่น
ยั่งยืน ดังนั้น จึงนำไปสู่แนวคิดการทำงานร่วมกับเครือข่ายทั้งเครือข่ายที่เป็นทางการ (JICA) และสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย และองค์กรความร่วมมือทางด้านเทคนิค
และเครือข่ายที่ไม่เป็นทางการ
แห่งประเทศเยอรมัน (GTZ) ได้ร่วมกับเทศบาลนครภูเก็ต และจังหวัดภูเก็ตในการ
นอกจากนี้ จากการทำงานร่วมกับเครือข่ายที่ผ่านมา ทำให้เทศบาลนครภูเก็ต บรรจุโครงการอนุรักษ์ย่านการค้าเมืองเก่าให้อยู่ในแผนสิ่งแวดล้อมจังหวัดภูเก็ต โดย
พบว่ามีการพัฒนาอย่างมีส่วนร่วมมากขึ้น ชุมชนเข้มแข็งสามารถแก้ปัญหาได้อย่าง
เทศบาลนครภูเก็ตได้จัดตั้งโครงการพัฒนาและอนุรักษ์ย่านการค้าเมืองเก่าภูเก็ตขึ้น
ยั่งยืนภายใต้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด โดยมีความร่วมมือทางวิชาการกับคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยี
พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง สำรวจความคิดเห็นต่อการอนุรักษ์ แล้วนำผล
สำหรับ เครือข่ายและการดำเนินงาน ที่สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นเลิศ ด้านการ
เสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม ของเทศบาลนครภูเก็ต ได้แก่ จากการศึกษาที่ได้มากำหนดแผนงานเพื่อพัฒนาพื้นที่อนุรักษ์ย่านการค้าเมืองเก่า
ทั้งในการพัฒนาอาคารกับพัฒนาระบบสาธารณูปโภค โดยการจัดทำเอกสารเผยแพร่
รางวัลพระปกเกล้า’ 58 รางวัลพระปกเกล้า’ 58