Page 170 - kpi17733
P. 170
168 16
ในอนาคตเทศบาลนครภูเก็ตจะขยายต่อยอดการจัดงานนี้ ให้ครอบคลุมพื้นที่ จากนั้นช่วยดูแลบ้านข้างเคียงอีก 2 หลัง นั่นคือ คน 1 คน สามารถเฝ้าระวังแหล่ง
ย่านการค้าเมืองเก่าภูเก็ตครบทุกสายถนนและจะเพิ่มจำนวนเครือข่ายร่วมการจัดงาน เพาะพันธุ์ยุงได้ ถึง 3 หลัง (1+2 = 3) จากนั้นขยายต่อไปยังชุมชน
ให้มากยิ่งขึ้นในทุกๆ ปี
BUDDY program ประกอบด้วย
B = BRANCH แตกหน่อ
เครือข่ายสุขภาพเฝ้าระวังโรคในเขตเมืองของเทศบาลนครภูเก็ต U = UNITY รวมพลังเครือข่าย
ด้วยเทศบาลนครภูเก็ตมีประชาการที่เป็นประชากรแฝง และแรงงานต่างด้าว D = DEVELOPMENT ต่อยอด
เป็นจำนวนมาก จึงเป็นสาเหตุของโรคระบาดต่างๆ ทั้งโรคอุบัติใหม่ โรคอุบัติซ้ำ ไม่ว่า D = DENGUE ไข้เลือดออก
จะเป็นโรคซาร์ ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ โรคคอตีบ รวมทั้งการระบาดอย่างหนักของ Y = YOUNG เสริมพลังเด็ก
โรคไข้เลือดออก ลำพังทีมงานกองการแพทย์ของเทศบาล จำนวน 20 กว่าคน และ จุดเริ่มต้น จากนักเรียนชั้น ป.4 ใน 6 โรงเรียนสังกัดเทศบาลนครภูเก็ตที่ผ่าน
อสม. ที่มีอยู่จำนวน 237 คน คงไม่สามารถเฝ้าระวังโรคได้อย่างทั่วถึง ทันเหตุการณ์ การอบรม “การดูแลตนเอง (SELF CARE)” 1,193 คน จากนั้นมอบหมายให้เด็ก
การใช้เครือข่ายในการเฝ้าระวังและแลกเปลี่ยนข้อมูลซึ่งกันและกัน ทำให้เราสามารถ 1 คนเป็นสายสืบลูกน้ำ สำรวจบ้านตัวเอง 1 หลัง และบ้านที่อยู่ข้างเคียงอีก 2 หลัง
รับมือกับปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างทันท่วงทีและมีประสิทธิภาพ ดังนั้น จะสามารถเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของยุงลาย ได้ถึง 3,579 หลังคาเรือน
แต่ละหลังหากมีผู้ปกครอง 1 คน ช่วยลูกๆ ดำเนินการ เครือข่ายจะเพิ่มอีก 3 เท่าตัว
ปัญหาไข้เลือดออก จัดได้ว่าเป็นปัญหาระดับโลกซึ่งไม่มีสัญญาณของการชะลอตัว
ซึ่งสาเหตุของไข้เลือดออกนั้นเกิดจากยุงลายเป็นพาหะ ดังนั้น ในการควบคุมการ นักเรียนจึงเป็นหมุดเชื่อม (linking pin) จากโรงเรียนสู่ครอบครัว จากนั้นได้จำลอง
ระบาดของโรคไข้เลือดออก หากยังไม่มีมาตรการที่จริงจังในการเฝ้าระวังและควบคุม รูปแบบที่ดำเนินการในนักเรียนไปสู่ชุมชนผ่าน อสม. จากเดิม อสม. 1 คน ดูแล
แหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายอย่างจริงจังและต่อเนื่อง เราอาจจะสูญเสียคนที่เรารัก 15-20 หลังคาเรือน แต่ด้วยจำนวน อสม. เพียง 237 คน ในสังกัดของศูนย์สุขภาพ
ก่อนวัยอันควร แต่ด้วยข้อจำกัดของจำนวนบุคลากรทางการแพทย์ และอาสาสมัคร ชุมชนเทศบาลนครภูเก็ต จึงเป็นอีกข้อจำกัดหนึ่ง ด้วยรูปแบบ BUDDY program
สาธารณสุขที่ จากการร่วมคิดเพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหาดังกล่าว การสร้างเครือข่าย
ได้จัดแบ่งโซนความรับผิดชอบในแต่ละชุมชนย่อย โดยให้แต่ละบ้าน ดูแล บ้านตัวเอง
ในการเฝ้าระวังโรค จึงเป็นคำตอบเพื่อให้คนภูเก็ตห่างไกลไข้เลือดออก นวัตกรรม 1 หลัง และบ้านที่อยู่ข้างเคียงอีก 2 หลัง รวม 3 บ้าน/คน จึงทำให้มีเครือข่ายใน
พิชิตไข้เลือดออก “สร้างเครือข่ายแตกหน่อ ต่อยอด ต้านภัยไข้เลือดออก ชุมชนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว จากนั้นได้ขยายผลไปสู่โรงเรียนนอกสังกัดเทศบาล คือ
(BUDDY program)” โดยทีมงานกองการแพทย์เทศบาลนครภูเก็ต จึงเกิดขึ้นโดย โรงเรียนอนุบาลภูเก็ต ซึ่งอยู่ในสังกัดของ สพฐ. และนักศึกษาฝึกงานจาก
เริ่มจากการปลุกพลังเด็ก แล้วขยายผลสู่ปกครอง อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ขณะเดียวกันได้จัดทำโครงการแปลงร่างยางรถ ประชดยุง
และชุมชน โดยที่ยางรถยนต์เก่าที่ทิ้งเรี่ยราดอยู่ริมถนนเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงชั้นดี เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชนจากวัสดุเหลือใช้ โดยดึงผู้ประกอบการร้าน
เป็นภัยเงียบที่ถูกมองข้าม ดังนั้น ร้านเปลี่ยนยางรถยนต์ จึงเป็นอีกภาคีหนึ่งที่สำคัญยิ่ง
เปลี่ยนยางเข้ามาเป็นเครือข่าย ในส่วนศาสนสถาน อสม. ได้เข้าดำเนินการ ในวัด
ศาลเจ้า มัสยิด โดยอสม.นำแนวคิดเรื่อง BUDDY program มาสอนต่อมัคทายก
BUDDY program หรือ กิจกรรมสร้างเครือข่ายแตกหน่อ ต่อยอด ต้านภัยไข้ แม่ครัว และผู้อาศัยอยู่ในวัด ให้ร่วมด้วยช่วยกันเป็นเครือข่ายเฝ้าระวัง และ อสม.
เลือดออก เป็นเครื่องมือที่จะช่วยพิชิตไข้เลือดออก โดยเริ่มจากการดูแลบ้านตัวเอง ได้เข้าสุ่มสำรวจ เดือนละ 1 ครั้ง
รางวัลพระปกเกล้า’ 58 รางวัลพระปกเกล้า’ 58