Page 212 - kpi17733
P. 212

210                                                                        211


 การพัฒนาและปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทางวัฒนธรรมเมือง   ๏ โครงการปรับปรุงสถาปัตยกรรมบริเวณถนนสายหลักของเมือง

 (การนำระบบสาธารณูปโภคลงใต้ดิน เพื่อการท่องเที่ยวในเขตเมืองอนุรักษ์)   ๏ โครงการปรับปรุงกำแพงเมืองเก่าลำพูน

 การนำระบบสาธารณูปโภคลงใต้ดินเพื่อการท่องเที่ยวในเขตเมืองอนุรักษ์  
  ๏ โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์คูเมืองเก่า
 ได้เริ่มดำเนินการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 และเป็นการดำเนินงานที่อาศัยความร่วมมือ
 จากหลายหน่วยงาน อาทิ เทศบาลเมืองลำพูน การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจังหวัดลำพูน  
  ๏ โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์ริมแม่น้ำกวง
 ผู้ประกอบกิจการสื่อสารและโทรคมนาคมในจังหวัดลำพูน โทรศัพท์จังหวัดลำพูน   ทั้งนี้ เพื่อให้การดำเนินงานมีความยั่งยืน และเป็นไปอย่างต่อเนื่อง เทศบาลได้
 การประปาส่วนภูมิภาคจังหวัดลำพูน และเครือข่ายชุมชนทั้ง 17 ชุมชน ทั้งนี้   
  มีการกำหนดจุด บริเวณ ควบคุมเป็นพื้นที่อนุรักษ์ ซึ่งจะต้องใช้มาตรการทาง

 ถือเป็นการดำเนินงานที่มีความสอดคล้องสนับสนุนยุทธศาสตร์ของท้องถิ่น ซึ่งถือเป็น  กฎหมายอย่างจริงจัง มีการออกเทศบัญญัติควบคุมอาคารในเขตเมืองเก่า อาทิเช่น
 โครงการใหญ่ที่น่าภาคภูมิใจได้รับการบรรจุในแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด และ  บริเวณกำแพงเมือง หรือแหล่งโบราณสถานสำคัญต่างๆ จะต้องห้ามก่อสร้างอาคาร
 ได้รับงบประมาณสนับสนุนตามยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองลำพูนมาอย่างต่อเนื่อง   สูงหรือสถานประกอบการ รวมถึงการห้ามรถบรรทุกเข้าบริเวณพื้นที่เพื่อป้องกันการ
 อีกทั้งยังได้รับเกียรติบัตรจากวัดพระธาตุหริภุญชัย วรมหาวิหารและสภาวัฒนธรรม  กระทบกระเทือนสถาปัตยกรรม หรือโบราณสถานนั้นมีการกำหนดโทนสีอาคารใน
 จังหวัดลำพูน ว่าเป็นโครงการที่สนับสนุนการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่มรดกทาง  เขตเมืองเก่า มีการออกแบบป้ายให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน เพื่อสร้างความดึงดูด

 วัฒนธรรมเมืองลำพูนอีกด้วย   และเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวภายในเมืองลำพูนให้เป็นเมืองประวัติศาสตร์ที่มีชีวิต
          สร้างความประทับใจแก่นักท่องเที่ยวที่มาเที่ยวชม
 จากความร่วมมือของเครือข่ายทุกภาคส่วน ในการนำสายไฟฟ้า สายโทรศัพท์
 และ สายสื่อสารต่างๆ ลงใต้ดิน พร้อมออกแบบเสาไฟฟ้าแสงสว่างแบบไร้สาย ทำให้  การดำเนินงานที่กล่าวมาทั้งหมด จัดได้ว่าเป็นการอนุรักษ์และต่อยอดทุนทาง
 ประชาชนและนักท่องเที่ยว สามารถเข้าถึงความสวยงามของสถาปัตยกรรมดั้งเดิม  วัฒนธรรมที่ดีของเมืองลำพูน โดยเทศบาลและเครือข่ายได้ดำเนินการตามกรอบการ
 ของเมืองลำพูนบริเวณถนนสายหลักในเขตเมืองเก่าได้อย่างชัดเจน ทุกภาคส่วนจึงได้  พัฒนาของแผนแม่บทและผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนาบริเวณเมืองเก่าลำพูน ทั้งนี้
 วางแนวทางในการดำเนินการมาอย่างต่อเนื่อง ที่จะคงความสวยงามของ  เพื่อคงไว้ซึ่งคุณค่าของมรดกทางวัฒนธรรม คงไว้ซึ่งสถาปัตยกรรมที่บ่งบอกถึง

 สถาปัตยกรรมดั้งเดิมของเมืองลำพูนบริเวณถนนอินทยงยศ ซึ่งเป็นถนนสายหลัก  
  อัตลักษณ์ของความเป็นเมืองลำพูนให้คงอยู่อย่างยั่งยืน ทั้งยังเป็นการสร้างความ
 ในเขตเมืองเก่าปรากฏแก่สายตาของผู้มาเยือนได้อย่างชัดเจนโดยไม่ต้องมีสิ่งอื่นใด 
  ตระหนักรู้ถึงคุณค่าการมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนหรือการจัดการ และเกิดการต่อยอด
 มาบดบังทัศนียภาพ อีกทั้งยังช่วยให้วัฒนธรรมหรือประเพณีเดิมๆ ที่เคยดำเนินการ  ถ่ายทอดสู่คนรุ่นใหม่ ซึ่งจะสามารถร้อยเรียงให้เกิดระบบการจัดการเมืองอนุรักษ์
 มาแต่อดีต แต่ปัจจุบันต้องเลือนหายไปจากสภาพบ้านเมืองที่เปลี่ยนแปลงไปกลับ 
  ที่ไม่จำกัดนิยามถึงเฉพาะกายภาพเท่านั้น หากแต่รวมถึงกิจกรรมประเพณีวัฒนธรรม
 พลิกฟื้นขึ้นมามีชีวิตขึ้นอีกครั้ง อาทิ การแห่รถบุษบก การแห่ขบวนตานก๋วยสลาก   และวิถีชีวิตของชาวลำพูน ในการนำเสนอความเป็นเมืองลำพูนได้อย่างชัดเจนเหมาะสม
 การแห่น้ำทิพย์ดอยขะม้อ เป็นต้น (ขบวนแห่ต่างๆ จะมีอุปสรรคอย่างมาก ถ้ายังมี  สามารถสร้างเสริมการเรียนรู้ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมโดยใช้เมืองทั้งเมืองเป็นแหล่ง

 สายไฟตามถนนอยู่)  นำไปสู่การดำเนินการอนุรักษ์เมืองเก่าให้กลับมามีชีวิตอีกครั้ง   เรียนรู้ รวมถึงสามารถนำเสนอเรื่องราวและระบบการท่องเที่ยวเมืองวัฒนธรรมสู่
 ผ่านการดำเนินงานที่ควบคู่ไปกับโครงการต่างๆ อาทิ   สายตานักท่องเที่ยวได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ อันเป็นการพัฒนาระบบ
          เศรษฐกิจ ระบบการจัดการเมือง รวมถึงระบบของการมีส่วนร่วม บนพื้นฐานของการ
          อนุรักษ์และพัฒนาควบคู่กัน โดยใช้ทรัพยากรทางวัฒนธรรมเป็นรากฐานอย่างสมดุล

 รางวัลพระปกเกล้า’ 58                                         รางวัลพระปกเกล้า’ 58
   207   208   209   210   211   212   213   214   215   216   217