Page 207 - kpi17733
P. 207
206 20
จากการดำเนินการตามยุทธศาสตร์ดังกล่าว เทศบาลเมืองลำพูน ร่วมกับภาคี โครงการจัดทำฐานข้อมูลบ้านเก่า
เครือข่ายต่างๆ ได้พัฒนาให้มีกิจกรรมที่ต่อยอดและเชื่อมโยงกับการอนุรักษ์เรือนพื้นถิ่น
สืบเนื่องจากโครงการอนุรักษ์บ้านเก่า ที่เทศบาลเน้นการขึ้นทะเบียนบ้าน
ในเขตเมืองลำพูนมากมาย ซึ่งสามารถอธิบายพอสังเขปได้ดังนี้
โบราณ/บ้านเก่าที่ยังคงความเป็นเอกลักษณ์ของชาวลำพูน เทศบาลจึงได้มีแนว
โครงการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมท้องถิ่น แหล่งเรียนรู้ชุมชนคุ้มเจ้า นโยบายให้งานแผนที่ภาษี กองคลัง จัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศ รูปแบบที่อยู่อาศัย
ยอดเรือน และวิถีการอยู่อาศัย โดยสร้างระบบจัดการข้อมูลที่อยู่อาศัยเป็นโปรแกรมประยุกต์
และนำโปรแกรมสารสนเทศทางภูมิศาสตร์( GIS ) มาจัดทำฐานข้อมูลบ้านเก่า
เป็นการจัดแสดงสิ่งของเครื่องใช้ที่แสดงถึงวิถีชิวิตของเจ้ายอดเรือน ณ ลำพูน ในเขตชุมชนเมืองขึ้น โดยในเขตเทศบาลเมืองลำพูนมีบ้านเก่าจำนวน 62 หลัง จาก
ชายาของเจ้าหลวงจักรคำขจรศักดิ์ เจ้าผู้ครองนครลำพูนองค์สุดท้าย โดยมีการ ฐานข้อมูลที่มีและภาพถ่ายที่เทศบาลได้บันทึกไว้ ทั้งนี้ คณะผู้บริหารได้มีนโยบายให้
ปรับปรุงสภาพภูมิทัศน์โดยรอบ ปรับปรุงตกแต่งสิ่งของเครื่องใช้ภายในเรือนอาศัย นำมาจัดทำเป็นวารสารปฏิทิน บันทึกความทรงจำบ้านลำพูน ซึ่งเป็นวารสารฉบับ
พร้อมทั้งจัดพิมพ์ประวัติความเป็นมาของคุ้ม ทั้งนี้ บ้านเจ้ายอดเรือน เป็นอาคาร
พิเศษ เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ประชาชนหันมาสนใจ และสนับสนุนการอนุรักษ์เรือน
เก่าแก่ที่สุดในเขตกำแพงเมืองลำพูน ทั้งสภาพแวดล้อมและทิศทางการตั้งเรือน พื้นถิ่นลำพูนให้มากขึ้น โดยปัจจุบันมีบ้านที่เข้าร่วมโครงการเพิ่มมากขึ้นเป็น 68 หลัง
เทศบาลได้เข้าดำเนินการจัดทำเป็นแหล่งเรียนรู้ชุมชน เชิงประวัติศาสตร์และ
สถาปัตยกรรมดั้งเดิมของเมืองลำพูน นอกจากโครงการทั้ง 3 ที่กล่าวมา เทศบาลและเครือข่าย ได้เห็นความ
สำคัญของเด็กและเยาวชนที่จะเป็นกำลังหลักในการอนุรักษ์เรือนพื้นถิ่นในเขต
โครงการอนุรักษ์บ้านเก่า เมืองลำพูน จึงได้ขยายกิจกรรมเกี่ยวกับประเด็นนี้เข้าไปในสถานศึกษา 4 แห่ง
เทศบาลได้เริ่มดำเนินการขึ้นทะเบียน บ้านโบราณ/บ้านเก่า ที่ยังคงความเป็น ได้แก่
เอกลักษณ์ของชาวลำพูน เพื่อขึ้นทะเบียนเอกสารมรดกความทรงจำแห่งโลก
โครงการแหล่งเรียนรู้ “เฮือนภูมิปัญญา ตามวิถีพอเพียง”
ของประเทศไทย ผลการสำรวจในเบื้องต้นพบว่ามีบ้านเก่าจำนวน 3 หลัง บ้านเลขที่
115, 117 และ 119 ตั้งอยู่ถนนวังขวา รูปแบบเรือนไม้สองชั้น และอยู่ในความครอบ โรงเรียนเทศบาลสันป่ายางหน่อม ได้นำแนวคิดการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม
ครองของการเคหะแห่งชาติ ซึ่งกำลังจะถูกรื้อถอนเพื่อที่จะก่อสร้างอาคารที่พักอาศัย และศูนย์เรียนรู้ชุมชนมาประยุกต์กับแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียงมาจัดทำเป็น
เทศบาลเมืองลำพูน จึงได้ดำเนินการขอเช่าบ้านเก่าจำนวน 3 หลังดังกล่าว จากการ นวัตกรรม ภายใต้ชื่อโครงการแหล่งเรียนรู้ “เฮือนภูมิปัญญา ตามวิถีพอเพียง”
เคหะแห่งชาติ เพื่อนำมาบูรณะเป็นสถาปัตยกรรมท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์กับ มุ่งเน้นให้นักเรียนและประชาชนในพื้นที่ได้ปฏิบัติตน เห็นคุณค่าของแหล่งเรียนรู้ใน
ประชาชนในเขตเทศบาล ซึ่งเมื่อการเคหะฯได้ทราบถึงวัตถุประสงค์ของเทศบาล
ชุมชนสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างต่อเนื่องยึดหลักปรัชญาของ
ก็เข้ามามีส่วนร่วมในโครงการดังกล่าว โดยยอมให้เทศบาลเช่าในอัตราพิเศษ เพื่อไป เศรษฐกิจพอเพียง สามารถดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมในชุมชนเกิดประโยชน์สูงสุด
ดำเนินการ ปรับปรุงสภาพภูมิทัศน์ โดยรอบพื้นที่ สร้างสถานที่ท่องเที่ยวที่มีการ โดยปราชญ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นในชุมชนทั้งหมด 17 ชุมชน ร่วมเป็นวิทยากรในการให้
บูรณะทางด้านสถาปัตยกรรมท้องถิ่นและโบราณสถานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ความรู้กิจกรรมเสริม “อุ้ยสอนหลาน สานสองวัย” ที่ประกอบไปด้วยกิจกรรมต่างๆ
อาทิ กิจกรรมการทำควักหมากพลู, กิจกรรมการตัดตุง เป็นต้น ซึ่งเป็นการอนุรักษ์
สืบทอดวัฒนธรรมทางภูมิปัญญาที่หลากหลายต่อเนื่องมาโดยตลอด
รางวัลพระปกเกล้า’ 58 รางวัลพระปกเกล้า’ 58