Page 218 - kpi17733
P. 218
216 21
เทศบาลเมืองศรีสะเกษ กำหนดยุทธศาสตร์สำคัญของการพัฒนาเมืองที่มุ่งสู่ สำหรับ เครือข่ายและการดำเนินงาน ที่สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นเลิศ ด้านการ
การเป็น “เมืองสุขภาพดี” (Health City) หรือ ศรีสะเกษโมเดล โดยมีเป้าหมาย เสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม ของ เทศบาลเมืองศรีสะเกษ
สูงสุดคือ การส่งเสริมสุขภาพของคนทั้งเมือง เริ่มตั้งแต่การกำหนดและวางแผน ได้แก่
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่เมืองสุขภาพดี ไว้ในแผนพัฒนาเทศบาลตั้งแต่ปี 2550
เป็นต้นมา ซึ่งได้แก่
โครงการศูนย์ดูแลผู้สูงอายุในชุมชน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาที่ 3 การส่งเสริมสุขภาพดีถ้วนหน้า แนวทางการพัฒนา
พัฒนาเครือข่ายสุขภาพในชุมชน จากการสำรวจประชากรผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองศรีสะเกษพบว่า เทศบาล
มีประชากรผู้สูงอายุทั้งสิ้น 5,883 คน คิดเป็นร้อยละ 13.9 ของประชากรในเขต
ยุทธศาสตร์การพัฒนาที่ 8 การสร้างสังคมให้น่าอยู่ แนวทางการพัฒนา เทศบาล แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ 1. ประเภทติดบ้าน จำนวน 1,888 คน
พัฒนาเครือข่ายเด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ คิดเป็นร้อยละ 32% 2. ประเภทติดสังคม 3,939 คน คิดเป็นร้อยละ 67%
จากยุทธศาสตร์การพัฒนาที่มุ่งสู่การเป็นเมืองสุขภาพดี โดยเทศบาลเล็งเห็น 3. ประเภทติดเตียง จำนวน 56 คน คิดเป็นร้อยละ 1% นอกจากนี้ยังพบว่า
ว่า เมืองสุขภาพดีจะสำเร็จได้ต้องทำให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกภาคส่วนได้ร่วมกัน ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ไม่สามารถเข้าถึงการบริการด้านต่างๆ ตามสิทธิที่ควรได้รับ
ตระหนัก เห็นความสำคัญ และมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนไปสู่ความสำเร็จร่วมกัน จึงทำให้เกิดปัญหาต่างๆ ตามมาหลายประการ อาทิ ปัญหาสุขภาพ ปัญหาด้าน
ทั้งนี้เทศบาลตระหนักว่า รูปแบบการดำเนินงานที่จะส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนได้ร่วมคิด เศรษฐกิจ อันเนื่องมาจากการขาดรายได้ ปัญหาความต้องการทางด้านสังคม ที่ไม่ได้
ร่วมทำ ร่วมดำเนินการ สร้างสรรค์สังคม ชุมชนของตนให้สามารถก้าวทันต่อการ รับการยอมรับ การเชื่อถือจากลูกหลาน สังคม บุคคลรอบข้าง
เปลี่ยนแปลงทางด้านต่างๆ ด้วยแนวคิดการทำงานแบบเครือข่ายผ่านการสร้าง ดังนั้น เทศบาลจึงตระหนักถึงความสำคัญของปัญหา ความต้องการที่เกิดขึ้น
พันธมิตรร่วมกันในการทำงาน ดังนั้นในปี 2556 เทศบาลจึงได้จัดตั้ง “เครือข่าย เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการสนับสนุน การบริการด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการดำรงชีวิต
ดูแลคุณภาพชีวิตของคนทั้งเมือง” โดยได้มีการร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความ
ประจำวัน การส่งเสริมสุขภาพจิต การมีรายได้จากการทำงาน มีความสัมพันธ์ที่ดีกับ
ร่วมมือเพื่อสร้างเครือข่ายการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในเขตเทศบาล
คนรอบข้าง สมาชิกในครอบครัว เทศบาลเมืองศรีสะเกษจึงได้ริเริ่มดำเนินโครงการ
ซึ่งประกอยด้วยหน่วยงานทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาสังคมในพื้นที่ ที่แสดงเจตจำนง ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุในชุมชน ที่ยึดหลักการทำงานในรูปแบบเครือข่ายความร่วมมือจาก
ร่วมกันในการจัดกิจกรรมทางสังคม เศรษฐกิจ และการจัดสวัสดิการสังคมเพื่อการ ภาคส่วนต่างๆ เน้นการสร้างสัมพันธมิตรระหว่างเครือข่าย ให้เกิดความเป็นเลิศ
พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในเขตเทศบาล ให้ก้าวเข้าสู่การเป็น “เมืองสุขภาพดี”
ในการดูแลผู้สูงอายุได้อย่างทั่วถึง เท่าเทียม และสอดคล้องกับความต้องการที่แท้จริง
ได้ในอนาคต ของผู้สูงอายุ
ทั้งนี้ เทศบาลจะเป็นศูนย์กลางในการประสานความร่วมมือจากภาคส่วนต่างๆ
ในการดูแลคนทั้งเมืองให้มีสุขภาพดีทั้งกายและใจ ปราศจากโรคภัย รู้เท่าทัน ป้องกัน ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุ เริ่มดำเนินการตั้งแต่ปี 2553 เริ่มต้นที่ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุ
ระวังรักษา สามารถดูแลคนรอบข้าง และตนเองได้ ซึ่งสอดคล้องกับวิสัยทัศน์
ชุมชนหนองตะมะมีสมาชิกทั้งสิ้น 160 คน แม้ในตอนนั้นจะมีกระบวนการสร้าง
การบริหารงานของเทศบาลที่ว่า “เมืองน่าอยู่ เมืองสุขภาพดี ประชาชนมีการศึกษา และเกิดเครือข่ายเริ่มต้นจากการประสานงาน การสื่อสารระหว่างเทศบาล กับชุมชน
พึ่งพาตนเองได้” การจัดทำประชาคมเพื่อรับฟังความคิดเห็นของพี่น้องในชุมชนในการกำหนดรูปแบบ
รางวัลพระปกเกล้า’ 58 รางวัลพระปกเกล้า’ 58