Page 223 - kpi17733
P. 223

222                                                                                                                                                       22


                                          ผลจากการขับเคลื่อนการดำเนินกิจกรรม                  เด็กนักเรียนและครู จัดกิจกรรมส่งเสริมทันต
                                    ของชมรมต่างๆ ที่จัดโดยภาคประชาสังคม และ                   สุขภาพในโรงเรียนโดยให้สอดคล้องกับลักษณะ

                                    ได้รับการสนับสนุนจากทั้งภาครัฐ เอกชน ช่วยให้              ปัญหา ศักยภาพของแต่ละพื้นที่ ซึ่งมุ่งเน้นให้ครู
                                    ภาคประชาชน ชุมชนตระหนักและมีบทบาทร่วม                     สามารถตรวจคัดกรองสุขภาพฟันเบื้องต้นได้
                                    ในการจัดการกับปัญหาสุขภาพของชุมชนมากขึ้น                  เพราะครูเป็นผู้อยู่ใกล้ชิดกับเด็ก เข้าถึง และมี
                                    เรื่อยๆ ไม่ว่าจะเป็น การเสริมสร้างสุขภาพ การ              เทคนิคในการสอนเด็กซึ่งเด็กจะเชื่อฟัง และนำไป
                                    ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดความเสี่ยงด้านสุขภาพ                 ปรับใช้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ดี ผลจากการ

                                    จนเกิดเป็นศูนย์รวมในการจัดกิจกรรมเพื่อสุขภาพ              ดำเนินเครือข่ายเด็กไทยฟันดีอย่างต่อเนื่องทำให้
                                    ที่หลากหลาย สร้างสรรค์ และสามารถถ่ายทอด                   อัตราฟันผุลดน้อยลง จากอัตราฟันผุที่ลดลงจึงมี
                                    จากรุ่นสู่รุ่นได้ เพื่อมุ่งสู่เป้าหมาย สุขภาพดี           การขยายผลไปยังโรงเรียนในอำเภอเมือง และ
                                    คุณภาพชีวิตดีขึ้น ของประชาชนทุกกลุ่มวัย                   อำเภอขุขันธ์ 8 โรงเรียนมีการจัดทำบันทึกลงนาม
                                                                                              ความร่วมมือในการส่งเสริมทันตสุขภาพ โดยมีครู

                                    โครงการผู้สูงอายุใส่ใจสุขภาพช่องปาก                       เป็นแกนนำ

                                                                                                    ผลจากความสำเร็จในการดำเนินเครือข่าย
                                          โครงการผู้สูงอายุใส่ใจสุขภาพช่องปาก
                                    เป็นโครงการที่ต่อยอดมาจากโครงการเครือข่าย                 เด็กไทยฟันดี จึงมีการขยายโครงการไปสู่กลุ่ม
                                    เด็กไทยฟันดี อันเนื่องมาจากในปี 2548 เทศบาล               ผู้สูงอายุ เนื่องจากการสำรวจโดยกลุ่ม อสม.ของ
                                    เมืองศรีสะเกษได้สำรวจสุขภาพช่องปากในเด็ก                  เทศบาล พบว่า ผู้สูงอายุสูญเสียฟันจนไม่สามารถ
                                    นักเรียน พบอัตราการเกิดโรคฟันผุในเด็กมากถึง               เคี้ยวอาหารได้ เกิดเป็นปัญหาสุขภาพตามมา
                                    ร้อยละ 89.7 ซึ่งเกินเกณฑ์มาตรฐานที่กระทรวง                ซึ่งจำแนกตามกลุ่มผู้สูงอายุ ได้ดังนี้ ผู้สูงอายุ

                                    สาธารณะสุขกำหนดให้ไม่เกินร้อยละ 55                        กลุ่มติดเตียงที่มีฟันเหลือน้อยกว่า 20 ซี่มีจำนวน
                                    เทศบาลจึงเริ่มดำเนินการบริการตรวจคัดกรอง                  5คน กลุ่มติดบ้าน มีฟันเหลือน้อยกว่า 20 ซี่มี
                                    บริการทันตกรรม อบรมให้ความรู้กับเด็กนักเรียน              จำนวน 3 คน กลุ่มติดสังคม มีฟันเหลือน้อยกว่า
                                    แต่อัตราฟันผุในเด็กยังคงไม่ลดลง เทศบาลจึง                 20 ซี่ มีจำนวน 34 คน นอกจากนี้การพบปัญหา
                                    ริเริ่มเครือข่ายเด็กไทยฟันดีในปี 2553 ใน                  สุขภาพในช่องปากยังทำให้มีโอกาสสูญเสียฟัน
                                    โรงเรียนสังกัดเทศบาลรวม 7 โรงเรียน สังกัด                 เพิ่มขึ้นตลอดเวลา
                                    สพฐ. และเอกชน 8 โรงเรียน เพื่อกระตุ้นให้ทุก

                                    ฝ่ายที่เกี่ยวข้องใส่ใจในการดูแลสุขภาพฟัน ทั้งใน



        รางวัลพระปกเกล้า’ 58                                                                                                                      รางวัลพระปกเกล้า’ 58
   218   219   220   221   222   223   224   225   226   227   228