Page 253 - kpi17733
P. 253
252 25
เทศบาลตำบลปลายพระยา มีหลักและแนวคิดในการบริหารเทศบาลโดยการ มท ๐๘๐๑.๔/ ว ๔๕๒๔ ลงวันที่ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๔๙ เรื่อง แนวทางการจัด
น้อมนำพระปฐมบรมราชโองการ “เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุข บริการสาธารณะร่วมกันระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แห่งมหาชนชาวสยาม” มีการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักการทรงงาน
2) การร่วมมือดำเนินการภายใต้โครงการร่วม แต่ไม่ได้จัดทำบันทึกตกลง
และหลักการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี เพื่อใช้เป็นแนวทางในการบริหารงานของ ความร่วมมืออย่างเป็นทางการ ซึ่งจะมีลักษณะการทำงานร่วมกันหลากหลายวิธีการ
เทศบาล โดยมีเป้าประสงค์สำคัญคือ การบริหารงานเพื่อประโยชน์สูงสุดของ เช่น การแลกเปลี่ยนวิชาการ การสนธิเครื่องมือเครื่องใช้ การสนับสนุนบุคลากร
ประชาชน การบริหารราชการให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของภาครัฐ ซึ่งการบริหารงาน
ในการร่วมดำเนินกิจกรรม การร่วมเป็นกรรมการต่างๆ การร่วมเป็นเครือข่ายศูนย์
ให้เกิดความคุ้มค่า ประกอบด้วยหลัก 3 ห่วง 2 เงื่อนไข ได้แก่ ความพอประมาณ เรียนรู้ระดับชุมชน ระดับครัวเรือน เป็นต้น
ความมีเหตุมีผล การมีภูมิคุ้มกัน และเงื่อนไขของความรู้ และคุณธรรม โดยการนำ
มาประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดองค์กรและการจัดบริการสาธารณะแก่ประชาชนให้ สำหรับ เครือข่ายและการดำเนินงาน ที่สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นเลิศ ด้านการ
เกิดประโยชน์สุขอย่างยั่งยืน เสริมสร้างเครือข่ายรัฐ เอกชน และประชาสังคม ของ เทศบาลตำบลปลายพระยา
ได้แก่
กลไกของการบริหารงานของเทศบาลตำบลปลายพระยาประกอบด้วย 2 ส่วน
หลัก คือ
ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงเทศบาลตำบลปลายพระยา
ส่วนแรก การบริหารงานระบบภาคีร่วมพัฒนา หรือการบริหารงานโดยภาคี
เครือข่ายความร่วมมือ โดยมีวัตถุประสงค์ ภารกิจหน้าที่ความรับผิดชอบ และความ “ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง” จัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นศูนย์การถ่ายทอด
ร่วมมือเป็นกรอบในการกำหนดกิจกรรมเพื่อการบูรณาการร่วมกัน การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเป็นองค์กรต้นแบบแห่งการ
ดำเนินงานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นแหล่งเรียนรู้ให้แก่ส่วนราชการ
ส่วนที่สอง การเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของเครือข่ายภาครัฐ เอกชน และ ประชาชน และผู้สนต่างๆ ได้ศึกษาและเรียนรู้เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในองค์กรและ
ประชาสังคม โดยการร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมรับผิดชอบ ร่วมติดตามประเมินผล และ การดำเนินชีวิต
ร่วมรับประโยชน์ร่วมกัน เช่น การรับฟังข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ เข้าสู่กระบวนการ
แผนชุมชน สู่แผนพัฒนาท้องถิ่นสู่เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี
การดำเนินงานโครงการศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงเทศบาลตำบล
การดำเนินโครงการและการตรวจติดตามประเมินผล ปลายพระยา ใช้การประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายต่างๆ ตามลักษณะ
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง มีการกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบตามความเชี่ยวชาญและ
ทั้งนี้ การขับเคลื่อนการดำเนินงานการเสริมสร้างเครือข่ายการทำงาน เหมาะสม โดยประกอบด้วย 4 ศูนย์การเรียนรู้หลัก ได้แก่ศูนย์เศรษฐกิจพอเพียง
ประกอบด้วย 2 วิธี คือ ศูนย์การเรียนรู้การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ ศูนย์การเรียนรู้การป้องกันการทุจริต
1) การร่วมมืออย่างเป็นทางการ จัดทำบันทึกตกลงความร่วมมือ (MOU : และศูนย์เรียนรู้การจัดการพลังงานทดแทน ซึ่งประกอบด้วยเครือข่ายบูรณาการการ
Memorandum of Understanding) เพื่อเป็นการแสดงให้เห็นว่ามีความมุ่งมั่นตั้งใจ
ทำงานจากหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และประชาสังคม คือ
ในการร่วมกับขับเคลื่อนงาน ภายใต้ข้อตกลงที่เป็นพันธสัญญาและนำสู่การบังคับใช้
โดยอาศัยแนวทางการดำเนินงานตามหนังสือสั่งการกระทรวงมหาดไทยที่
รางวัลพระปกเกล้า’ 58 รางวัลพระปกเกล้า’ 58