Page 256 - kpi17733
P. 256
25 255
๏ เครือข่ายภาครัฐ 25 หน่วยงาน ประกอบด้วยราชการส่วนกลาง
๏ บทบาทกลุ่มอาชีพ กลุ่มเกษตรกร เช่น กลุ่มเพาะเลี้ยงจิ้งหรีด กลุ่ม
ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น และสถาบันการศึกษาต่างๆ เพาะเลี้ยงด้วงสาคู กลุ่มปลูกผักปลอดสารพิษ กลุ่มเพาะเลี้ยงปลาดุก
ในบ่อซีเมนต์ เป็นต้น
๏ เครือข่ายภาคเอกชน 28 หน่วยงาน ประกอบด้วย กลุ่มบริษัท กลุ่ม
วิสาหกิจชุมชน และประชาชน
๏ บทบาทการจัดการเรียนการสอน เช่น วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี
กระบี่ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต วิทยาลัย
๏ เครือข่ายภาคประชาสังคม 8 หน่วยงาน ประกอบด้วย กลุ่มสมาคมฯ การอาชีพอ่าวลึก โรงเรียนปลายพระยาวิทยาคม โรงเรียนบ้านบางเหียน
กลุ่มสหกรณ์ และชมรมต่างๆ
โรงเรียนอนุบาลคณาพร โรงเรียนชุมชนวัดหาดถั่ว โรงเรียนวิทยา
๏ เครือข่ายที่เข้ามาศึกษาดูงาน 19 หน่วยงาน ประชาคม โรงเรียนบ้านเขาตั้ง
การดำเนินโครงการนั้น มีการแบ่งบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบตามความ
๏ บทบาทการเข้ารับการฝึกอบรม การเข้าศึกษาดูงานและแลกเปลี่ยน
เชี่ยวชาญและความสอดคล้องกับภารกิจงาน ภายใต้การจัดทำบันทึกตกลงความ
เรียนรู้ เช่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่างๆ
ร่วมมือ (MOU) กล่าวคือ
ทั้งนี้ เครือข่ายได้นำไปสู่การดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จในการพัฒนา
1) การสนับสนุนงบประมาณ วิชาการ บุคลากร วัสดุอุปกรณ์ ได้แก่ พื้นที่มากมาย ซึ่งสามารถยกตัวอย่างที่เป็นรูปธรรมได้ ดังนี้
สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจาก 1) วิสาหกิจชุมชนการผลิตน้ำดื่มชุมชน และกลุ่มออมทรัพย์ชุมชนบ้านปากน้ำ
พระราชดาริ (สำนักงาน กปร.) มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาประเทศ
ชุมชนบ้านปากน้ำ สมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์บ้านหน้าสวน
ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (มพพ.) สำนักงานส่งเสริมสังคมแห่ง
การเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) สำนักงานป้องกันและปราบปราม 2) การจัดตั้งเครือข่ายฐานเรียนรู้สัมมาชีพในระดับครัวเรือน เช่น ฐานเรียนรู้
การทุจริตแห่งชาติ (สานักงาน ป.ป.ช.) กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ สัมมาชีพชุมชนการเพาะเลี้ยงด้วง ฐานเรียนรู้สัมมาชีพชุมชนการเลี้ยง
อนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน สำนักงานทรัพยากรน้ำภาค 10 สำนัก ปลาดุกด้วยบ่อซีเมนต์ ฐานเรียนรู้สัมมาชีพชุมชนการเลี้ยงแพะ
บำรุงทางจังหวัดพังงา สำนักงานประมงจังหวัดกระบี่ ศูนย์วิจัยและพัฒนา ฐานเรียนรู้เกษตรผสมผสาน เป็นต้น
ประมงน้ำจืด นครศรีธรรมราช ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืดพัทลุง 3) การตั้งศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงในระดับโรงเรียน ได้แก่ ศูนย์เรียนรู้
สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดกระบี่ สำนักงาน เศรษฐกิจพอเพียงโรงเรียนบ้านบางเหียน
พลังงานจังหวัดกระบี่ ศูนย์ศึกษาพิเศษประจำจังหวัดกระบี่
4) ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง เป็นศูนย์ถ่ายทอดการดำเนินงานตามหลัก
2) ปฏิบัติการร่วมในลักษณะบทบาทต่างๆ อันได้แก่ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทำให้มีหน่วยงานภาครัฐ เอกชน ประชาชน
๏ บทบาทฐานเรียนรู้ระดับองค์กร ระดับชุมชน และระดับครัวเรือน และผู้สนใจทั่วไปเข้ามาศึกษาดูงาน ประมาณ 7,500 คน รวม 103 หน่วยงาน
และสร้างรายได้ให้แก่เทศบาลและท้องถิ่นเป็นเงิน 7,159,200 บาท
รางวัลพระปกเกล้า’ 58 รางวัลพระปกเกล้า’ 58