Page 66 - kpi17733
P. 66

6                                                                          65


    4.2)  อาสาสมัครดูแลสุขภาพ    หลากหลาย อาทิ กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับวิทยากรและผู้เข้าร่วมกิจกรรม,
    4.3)  ชมรมผู้สูงอายุ      การศึกษาดูงาน และการฝึกอบรมเทคนิคการเป็นวิทยากร เป็นต้น ซึ่งวิทยากรชุมชน

       5)  ระบบเศรษฐกิจชุมชน ประกอบด้วยแหล่งเรียนรู้ ดังนี้    สามารถเชื่อมโยงกิจกรรมในแหล่งเรียนรู้ของตนเองให้เข้ากับแหล่งเรียนรู้อื่นได้อย่าง
    5.1)  การบริหารจัดการเครือข่ายกลุ่มอาชีพ    เป็นระบบ, มีสื่อประจำแหล่งเรียนรู้ อาทิ ป้ายไวนิล วีดีทัศน์ แผ่นพับ และ
    5.2)  กลุ่มขนมไทยขนมหวาน    หนังสือพิมพ์ เป็นต้น ซึ่งการผลิตสื่อทั้งด้านเนื้อหา รูปภาพ และรูปแบบของสื่อได้
    5.3)  กลุ่มผ้ามัดย้อม    ผ่านการพิจารณาร่วมกันของคณะทำงาน และได้มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์
    5.4)  กลุ่มดอกไม้ประดิษฐ์    โครงการระบบการเรียนรู้และองค์ความรู้ของแหล่งเรียนรู้สู่สาธารณะในระดับครัว

    5.5)  กลุ่มตัดเย็บเสื้อผ้าสตรี    เรือน ชุมชน และหน่วยงานภายในและภายนอกพื้นที่ นอกจากนี้ เทศบาลตำบล
    5.6)  กลุ่มข้าวแต๋น    เกาะคา ยังพัฒนาเครือข่ายจากระบบการเรียนรู้ โดยมีเวทีกระบวนการแลกเปลี่ยน
    5.7)  กลุ่มบายศรี    เรียนรู้จากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นที่เข้ามาศึกษาดูงาน
    5.8)  กลุ่มประดิษฐ์กล่องของที่ระลึกบ้านแสนตอ      จากการพัฒนาระบบสุขภาวะชุมชนบนฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ส่งผลให้
       6)  ระบบส่งเสริมการเรียนรู้และเปิดพื้นที่สร้างสรรค์เพื่อชุมชน ประกอบด้วย  พื้นที่เทศบาลตำบลเกาะคากลายเป็นศูนย์เรียนรู้เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง และส่งผล
 แหล่งเรียนรู้ ดังนี้

    6.1)  ศูนย์กีฬาเทศบาล    ประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคมให้แก่ประชาชนในระดับครัวเรือน ชุมชน และ
          องค์กร กล่าวคือ
    6.2)  ศูนย์เรียนรู้ชุมชน
       7)  ระบบภูมิปัญญาท้องถิ่น ประกอบด้วยแหล่งเรียนรู้ ดังนี้    
  ๏
ระดับครัวเรือน ครัวเรือนสามารถลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ตามวิถีเศรษฐกิจ
    7.1)  กลุ่มงานหัตถกรรมผู้สูงอายุบ้านเกาะคา    พอเพียง สามารถพึ่งพาตนเองได้ในทางการเงิน มีสุขภาพดีขึ้นจากการ
    7.2)  กลุ่มจุมสะหรีเกาะคาและดนตรีพื้นเมือง    บริโภคผักปลอดสารพิษ ความสัมพันธ์ภายในครอบครัวดีขึ้น และสมาชิก

    7.3)  กลุ่มอุ้ยสอนหลานทำตุง    มีความรักและความเข้าใจกัน
    7.4)  กลุ่มกลองปลดปด    
  ๏
ระดับชุมชน ปัญหามลพิษในชุมชนลดน้อยลง สภาพแวดล้อมดีขึ้น
     8) ระบบการสื่อสารเพื่อมุ่งสู่การบริหารจัดการธรรมาภิบาล ประกอบด้วยแหล่ง  ประชาชนมีความสามัคคีกัน ภูมิปัญญาท้องถิ่นได้รับการสืบทอด คนใน
 เรียนรู้ ดังนี้    ชุมชนได้รับการพัฒนาศักยภาพ เกิดจิตอาสา และประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม
    8.1)  สายตรงผู้บริหาร    ในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาท้องถิ่น กล่าวได้ว่า ชุมชนมีสิ่งแวดล้อมดี
    8.2)  เทศบาลเคลื่อนที่    เพื่อนบ้านดี และสังคมดี
    8.3)  เวทีข่วงผญ๋า

    8.4)  เวทีประชาคม      
  ๏
ระดับองค์กร เกิดเครือข่ายในลักษณะเพื่อนช่วยเพื่อน มีการแลกเปลี่ยน
 ในแหล่งเรียนรู้แต่ละแห่ง คณะทำงานได้ออกแบบแนวทางการเรียนรู้,   
  เรียนรู้ร่วมกัน และนำไปสู่การพัฒนาศักยภาพขององค์กร
 มีวิทยากรชุมชนประจำแหล่งเรียนรู้ ซึ่งได้รับการพัฒนาศักยภาพด้วยวิธีการที่



 รางวัลพระปกเกล้า’ 58                                         รางวัลพระปกเกล้า’ 58
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71