Page 63 - kpi17733
P. 63
62 6
๏
การสร้างการมีส่วนร่วมและสร้างการเรียนรู้ เทศบาลตำบลเกาะคา สร้าง 1) ระบบการบริหารจัดการท้องถิ่น ประกอบด้วยแหล่งเรียนรู้ ดังนี้
การมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ของประชาชนผ่านเวทีประชาคมและเวที
1.1) สภาองค์กรชุมชนวิทยากร
ข่วงผญ๋า เทศบาลจัดเวทีประชาคม 3 ครั้งต่อปี เพื่อรับฟังปัญหาของ 1.2) นักวิจัยชุมชน
ชุมชน และให้ชุมชนเรียงลำดับความสำคัญและความเร่งด่วนของปัญหา 1.3) การบริหารจัดการเทศบาลแบบครอบครัวเดียวกัน
ตลอดจนร่วมค้นหาแนวทางในการแก้ไขปัญหา ขณะเดียวกัน เทศบาล
1.4) อปพร.
ยังจัดให้มีเวทีข่วงผญ๋า ซึ่งเป็นเวทีในการพูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน 1.5) การบริหารงานด้วยความโปร่งใส
ของคนในชุมชน โดยมีนักวิจัยชุมชนเป็นวิทยากรกระบวนการ ทั้งสองเวที 2) ระบบการจัดการสังคม ประกอบด้วยแหล่งเรียนรู้ ดังนี้
ต่างช่วยหนุนเสริมซึ่งกันและกัน และสร้างการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ 2.1) เครือข่ายคุ้มครองเด็ก
ของประชาชนให้เกิดขึ้น 2.2) ศูนย์พัฒนาครอบครัว
2.3) ครอบครัวเข้มแข็ง
๏
การจัดการด้วยตนเองและการถ่ายทอดสู่คนรุ่นหลัง ในการพัฒนาและ
แก้ไขปัญหาของชุมชน เทศบาลตำบลเกาะคา ส่งเสริมให้ชุมชนขับเคลื่อน 2.4) กลุ่มพัฒนาสตรีประจำหมู่บ้าน (กพสม.)
หรือจัดการด้วยตนเอง โดยเทศบาลทำหน้าที่เป็นเพียงพี่เลี้ยงและให้การ 2.5) ศูนย์รับแจ้งเหตุเด็กและสตรี
2.6) ชาวเกาะคาไม่ทอดทิ้งกัน
สนับสนุนเท่านั้น นอกจากนี้ การพัฒนาและแก้ไขปัญหาของชุมชนให้ได้
2.7) เครือข่ายพิทักษ์สิทธิชุมชน
อย่างยั่งยืนจำเป็นต้องคำนึงถึงประชากรกลุ่มเด็กและเยาวชน เทศบาล 3) ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมและการจัดการขยะ ประกอบด้วยแหล่งเรียนรู้
จึงพยายายามสร้างพื้นที่แห่งการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ในทุกชุมชน หรือที่
เรียกว่า “ศูนย์เรียนรู้” ทั้งนี้ ผู้ใหญ่เชิญชวนเด็กและเยาวชนเข้ามาร่วมทำ ดังนี้
3.1) กลุ่มเลี้ยงไส้เดือนเพื่อกำจัดขยะเปียก
กิจกรรมในศูนย์เรียนรู้ พร้อมทั้ง ถ่ายทอดองค์ความรู้และภูมิปัญญา 3.2) ครัวเรือนต้นแบบด้านการจัดการขยะ
ประกอบกับ สนับสนุนให้เด็กและเยาวชนเป็นแกนนำในการพัฒนาและ
แก้ไขปัญหาชุมชน 3.3) ศูนย์การเรียนรู้การจัดการสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
3.4) กลุ่มอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและนักสืบสายน้ำ
นอกจากกระบวนการสร้างการมีส่วนร่วมแล้ว เทศบาลตำบลเกาะคา ยังมุ่ง 3.5) ตู้เย็นพอเพียงในสวน
เน้นกระบวนการสร้างการเรียนรู้ให้ชุมชนกลายเป็นชุมชนสุขภาวะตามหลักปรัชญา 3.6) กลุ่มผักปลอดสารพิษ
เศรษฐกิจพอเพียง โดยเทศบาลดำเนินการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ภายในพื้นที่ ทั้งนี้
3.7) บ้านน่าอยู่ หน้าบ้านน่ามอง
คณะทำงาน ประกอบด้วย ผู้บริหาร พนักงาน สมาชิกสภาเทศบาล และแกนนำ 3.8) ร้านค้าศูนย์บาทบ้านผึ้ง
ชุมชน ประชุมร่วมกันเพื่อประเมินศักยภาพของทุนทางสังคมที่มีอยู่ และพัฒนาทุน 3.9) ร้านค้าศูนย์บาทบ้านแสนตอ
เหล่านี้ให้กลายเป็นแหล่งเรียนรู้ ซึ่งปัจจุบันในพื้นที่มีแหล่งเรียนรู้มากถึง 43 แหล่ง 3.10) ศูนย์บริหารจัดการขยะปลายทาง
จากนั้น ได้พัฒนาต่อยอดโดยผสานแหล่งเรียนรู้แต่ละแห่งให้กลายเป็นระบบการ
4) ระบบสุขภาพชุมชน ประกอบด้วยแหล่งเรียนรู้ ดังนี้
เรียนรู้ ซึ่งปัจจุบันมีทั้งหมด 8 ระบบการเรียนรู้ ได้แก่ 4.1) ศูนย์อาหารเพื่อสุขภาพ
รางวัลพระปกเกล้า’ 58 รางวัลพระปกเกล้า’ 58