Page 74 - kpi17733
P. 74

2


    3.  ปัญหาเรื่องเสียงจากห้องเครื่องอบไล่ความชื้นได้ทำการก่อผนังอิฐมวลเบา  ปัญหาการรบกวนด้านเสียงและแรงสั่นสะเทือนของกระบวนการผลิต ปัญหาที่อยู่
 ล้อมเครื่องอบไล่ความชื้นเพื่อลดเสียงที่จะออกสู่นอกอาคาร และติดตั้ง  อาศัย ปัญหาการซ่อมแซมโครงสร้างพื้นฐาน ถนน ไฟฟ้า เป็นต้น ขั้นตอนการแก้ไข

 กล่องลดเสียง แก้ไขขนาดของปากปล่องและปรับรูปแบบก่อนถึงทาง  ปัญหาดังกล่าวจำเป็นต้องได้รับความร่วมมือจากหลายๆ หน่วยงาน และเกิดความ
 ระบายออก และปัญหาเรื่องแรงสั่นสะเทือนได้สร้างห้องครอบเครื่องจักร  ล่าช้าในการปฏิบัติงานซึ่งอาจส่งผลเสียมากกว่าเดิมเพราะไม่สามารถเข้ามาแก้ไข
 เพื่อลดเสียงและแรงสั่นสะเทือน   ปัญหาได้อย่างทันท่วงที การแก้ไขปัญหาที่ได้ผลอย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด คือ
          การที่เจ้าของพื้นที่ ได้แก่ ชุมชนและประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ร่วมกันเป็นผู้นำหลัก
 ความสำเร็จที่เกิดขึ้นกล่าวได้ว่ามีพื้นฐานจากการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนที่
 ได้ดำเนินการวางแผนป้องกันปัญหาสิ่งแวดล้อมมาล่วงหน้าอยู่แล้วในพื้นที่ จะเห็นได้  ในการแก้ไขปัญหามากกว่าที่จะรอให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้ามาดำเนินการแก้ไข
          ปัญหา จึงร่วมกันสนับสนุนและจัดตั้งให้มี “คณะกรรมการอาสาสมัครอนุรักษ์
 ว่าในทันทีที่ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกิดขึ้นทางชุมชน คณะกรรมการ อาสาสมัครอนุรักษ์
 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลคลองกิ่ว และ  ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม” ขึ้น คณะกรรมการฯ ดังกล่าวเป็นบุคคลผู้ที่มี
          จิตอาสาและได้รับการคัดเลือกกันเองในหมู่บ้านหรือชุมชนของตำบลคลองกิ่ว
 หน่ยงานที่เกี่ยวข้องได้ร่วมกันแก้ไขปัญหาอย่างรวดเร็วไม่ให้มีผลกระทบไปยังพื้นที่
 อื่นๆ ด้วยเหตุนี้เอง จึงทำให้พื้นที่ตำบลคลองกิ่วไม่เคยมีความขัดแย้งรุนแรงระหว่าง  เพื่อปกป้องและรักษาสภาพสิ่งแวดล้อม คณะกรรมการฯ ดังกล่าวจะประกอบด้วย
 ชุมชนและบริษัทที่เข้ามาตั้งกิจการในพื้นที่แต่ประการใดเพราะได้มีการรีบดำเนินการ  ผู้นำท้องถิ่น ผู้นำท้องที่ และตัวแทนภาคประชาชนหมู่บ้านละ 10-13 คน จำนวน
          9 หมู่บ้าน โดยมีวัตถุประสงค์สำคัญ คือ การทำหน้าที่เป็นตาสับปะรดในการช่วย
 แก้ไขปัญหาไม่ให้ลุกลามอย่างรวดเร็ว ทุกภาคส่วนใช้หลักเหตุผลมาพูดคุยเพื่อแก้ไข
 ปัญหาสิ่งแวดล้อมมากกว่าการใช้อารมณ์หรือการประท้วง จึงทำให้สภาพวิถีชิวิตของ  สอดส่องและแจ้งเบาะแสในการพบปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมในระดับต้น และช่วยเฝ้า
          ระวังการเกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมและปัญหาอื่นๆ ของตำบลคลองกิ่ว นอกจากนี้ ยังให้
 ประชาชนในตำบลสามารถดำรงอยู่ได้อย่างปกติสุขท่ามกลางการพัฒนาทางเศรษฐกิจ
 และอุตสาหกรรม   มีการรวบรวมกลุ่มพลังมวลชนจิตอาสาหลายกลุ่มหลายองค์กรที่ได้เข้าร่วมพัฒนา
          ตำบลคลองกิ่วเพื่อมุ่งสู่ตำบลปลอดมลพิษในอนาคต เช่น กลุ่มเยาวชนรุ่นใหม่ใส่ใจ
 
        สิ่งแวดล้อมที่เกิดจากการรวมตัวกันของนักเรียนโรงเรียนต่างๆ ในเขตพื้นที่ในการ
 การพัฒนาอาสาสมัครในการร่วมมือแก้ไขและป้องกันปัญหาด้าน  ตั้งใจทำความดีเพื่อท้องถิ่นที่ตนอยู่อาศัย เป็นต้น การมีคณะกรรมการฯ ดังกล่าว

 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่   ยังเป็นการฝึกอบรมลักษณะความเป็นผู้นำด้านการพิทักษ์รักษาสิ่งแวดล้อมของตำบล

 จากการที่มีกลุ่มนักลงทุน กลุ่มผู้ประกอบกิจการโรงงานเข้ามาดำเนินการตั้ง  คลองกิ่วอย่างเป็นรูปธรรม นอกจากนี้ถือได้ว่าเป็นการเรียนรู้วิธีการสร้างพลังการมี
 บริษัท โรงงาน สถานประกอบการ ร้านค้า หลากหลายประเภทในตำบลคลองกิ่ว 
  ส่วนร่วมและทำงานประสานระหว่างหน่วยงานอื่นๆ ด้วย โดยคณะกรรมการฯ
 จึงส่งผลต่อวิถีการดำเนินชีวิตของคนในชุมชนให้เปลี่ยนแปลงไปจากชุมชน  มีหน้าที่และบทบาทที่สำคัญ ดังนี้
 เกษตรกรรมไปสู่ชุมชนอุตสาหกรรมและการพาณิชย์ ปัญหาโดยส่วนใหญ่มาจากการ     1.  ช่วยส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากร
 ที่มีโรงงาน บริษัท สถานประกอบการ และแรงงานอพยพเข้ามาประกอบอาชีพ  
  ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของชุมชน

 ในพื้นที่มากขึ้นอย่างรวดเร็วทำให้เกิดปัญหาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
 ตามมาในการดำเนินชีวิตของคนในชุมชนหลายมิติ อาทิเช่น ปัญหาด้านมลพิษทาง     2.  เสริมสร้างจิตสำนึกให้แก่ประชาชนด้านการอนุรักษ์ สงวน คุ้มครอง และ
 กลิ่นที่เกิดจากกระบวนการผลิตของโรงงาน ปัญหาด้านการดูแลและบำบัดน้ำเสีย   ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นของตนเอง


 รางวัลพระปกเกล้า’ 58                                         รางวัลพระปกเกล้า’ 58
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79