Page 76 - kpi17733
P. 76
5
3. ติดตาม ตรวจสอบ เฝ้าระวังการเปลี่ยนแปลงคุณภาพทรัพยากรธรรมชาติ ต้องการให้คณะกรรมการฯ ชุมชนและประชาชนได้ร่วมกันทำงานตั้งแต่ระยะแรก
และสิ่งแวดล้อมของชุมชน มีการรับฟังความคิดเห็น มีการแสดงความคิดเห็นและมีการรับฟังความคิดเห็นของ
ประชาชนก่อนตัดสินใจ ซึ่งการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการตั้งแต่ต้น
4. เผยแพร่ข่าวสารของทางราชการในด้านการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
ในพื้นที่ให้ประชาชนได้รับรู้ เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ มีประโยชน์ช่วยให้ประชาชนมีเวลาคิดถึงทางเลือก หรือแนวทางการป้องกันและแก้ไข
ปัญหาของชุมชนที่เหมาะสมมากขึ้น
5. ช่วยเหลือและสนับสนุนการดำเนินงานตามแผน โครงการ หรือกิจกรรม
เกี่ยวกับการอนุรักษ์ สงวน คุ้มครอง และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและ
การดูแลและฟื้นคืนสภาพอ่างเก็บน้ำบ้านบึงขยาย “หนองน้ำเขียว”
สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น
อ่างเก็บน้ำบ้านบึงขยายหรืออ่างเก็บน้ำหนองน้ำเขียวตั้งอยู่ในพื้นที่หมู่ที่ 3
วิธีการดำเนินงานเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมและสร้างความโปร่งใสที่โดดเด่ด คือ ตำบลคลองกิ่ว อำเภอบ้านบึงและบริเวณดังกล่าวมีทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญคือ
การที่ชุมชนและองค์การบริหารส่วนตำบลคลองกิ่วร่วมกันผลักดันให้คณะกรรมการฯ ทรายที่ใช้สำหรับงานก่อสร้างและหินแกรนิตที่ใช้ในการอุตสาหกรรม ในอดีต
ได้เข้ารับการฝึกอบรมด้านความรู้เกี่ยวกับเรื่องสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่องเป็นประจำ ผู้ประกอบการเชิงพาณิชย์ใช้พื้นที่เหนืออ่างเก็บน้ำเป็นพื้นที่เพื่อขุดดินไปขายและใช้
โดยเชิญองค์กร หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องมาให้ความรู้ เช่น อุตสาหกรรมจังหวัด เป็นหนองน้ำเขียวเป็นที่ล้างทรายในดินเพื่อให้ได้ราคาสูงขึ้น จนทำให้น้ำในอ่างเก็บน้ำ
ชลบุรี สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดชลบุรี รวมถึงสำนักงาน บ้านบึงขยาย (หนองน้ำเขียว) ที่ผ่านการล้างทรายเป็นตะกอนขุ่นขาวไม่สามารถใช้น้ำ
สาธารณสุขอำเภอและสาธารณสุขจังหวัด เป็นต้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้รับ มาทำการเกษตรหรืออุปโภคบริโภคได้ อีกทั้งผู้ประกอบการยังปล่อยให้น้ำที่ตก
ทราบถึงมลพิษจากแหล่งอุตสาหกรรม เข้าใจถึงขั้นตอน กระบวนการแก้ไขปัญหาเมื่อ ตะกอนนั้นไหลไปตามลำห้วยตามธรรมชาติโดยไม่ได้สนใจต่อผลกระทบพื้นที่อื่น
เกิดมลพิษและประสานงานไปยังหน่วยงานที่รับผิดชอบในการร่วมแก้ไขปัญหาได้ ต่อมากรมชลประทานมีโครงการต้องการขยายคันเขื่อนใหม่เพื่อเพิ่มความจุในการกัก
อย่างถูกต้อง สามารถประเมินสถานการณ์เบื้องต้นเกี่ยวกับปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมได้ เก็บน้ำในอ่างเก็บน้ำบ้านบึงขยาย และได้มีการตรวจสอบคุณภาพน้ำก่อนเพื่อนำไป
อย่างรวดเร็วแบบบูรณาการร่วมกับหน่วยงานอื่นได้ มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ใน ผลิตเป็นน้ำประปาให้ประชาชนในเขตอำเภอบ้านบึงใช้ จึงพบว่าค่าความขุ่นของน้ำ
การดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อให้เกิดการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารเมื่อเกิดปัญหาขึ้น ที่วัดได้นั้นเกินกว่าค่ามาตรฐานสูง คือ วัดได้สูงสุด 29,000 NTU (แหล่งน้ำ
อย่างถูกต้อง จนเกิดสำนึกรักและหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น
โดยทั่วไปไม่ควรมีค่าความขุ่นเกินกว่า 100 NTU) ซึ่งถือว่าเป็นอันตรายและ
ของตนเอง อีกทั้งคณะกรรมการฯ ดังกล่าวสามารถเผยแพร่ความรู้ และสร้าง
ไม่สามารถนำน้ำจากบึงดังกล่าวมาใช้ผลิตเป็นน้ำประปาให้ประชาชนทั้งอำเภอได้
เครือข่ายในการดูแลทรัพยากรธรรมชาติได้ นอกจากนี้ ยังได้จัดฝึกอบรมครอบคลุม
ไปยังกลุ่มจิตอาสาให้มีความรู้ด้านสิ่งแวดล้อมเช่นเดียวกัน ทั้งนี้จะให้ทั้งสองกลุ่ม
ปัญหาดังกล่าวมีผลกระทบอย่างมากต่อคนทั้งอำเภอบ้านบึงในอนาคตที่จะไม่มี
ได้ร่วมกันประสานติดตามผลการดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกันและดูแลรักษา
น้ำประปาใช้อุปโภคและบริโภค จึงได้นำปัญหาเข้าสู่การประชุมประชาคมเพื่อรับฟัง
สิ่งแวดล้อมร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลคลองกิ่ว และกลุ่มอาสาสมัครอื่นๆ
ความคิดเห็นของประชาชนในเขตพื้นที่หมู่ที่ 2 และหมู่ที่ 3 เพื่อหาทางป้องกัน
หลังจากการเข้ารับการฝึกอบรมแล้วทางองค์การบริหารส่วนตำบลคลองกิ่วได้นำ
ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมในการประกอบกิจการบ่อดินบ่อทรายในพื้นที่ จนในที่สุด
คณะกรรมการฯ และกลุ่มจิตอาสาไปศึกษาดูงาน ณ สถานที่จริงที่อาจสร้างปัญหา ตำบลคลองกิ่วจำเป็นต้องออก “ข้อบัญญัติเรื่อง การควบคุมการขุดดินและถมดิน
มลพิษทางสิ่งแวดล้อมภายในพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลคลองกิ่ว เพราะ พ.ศ. 2546” และ “ข้อบัญญัติ เรื่อง กำหนดเขตพื้นที่และมาตรการคุ้มครอง
รางวัลพระปกเกล้า’ 58 รางวัลพระปกเกล้า’ 58