Page 86 - kpi17733
P. 86

8                                                                          85


 เพื่อให้ประชาชน หน่วยงานภาครัฐ และภาคเอกชน รู้และเข้าใจเกี่ยวกับวัตถุประสงค์  โครงการ “เงินออม สร้างสุข”
 ในการก่อตั้งศูนย์และแนวทางการดำเนินงานของศูนย์ รวมทั้ง เชิญชวนให้เข้ามามี  โครงการ “เงินออม สร้างสุข” เป็นโครงการที่ริเริ่มโดยกลุ่มผู้สูงอายุในพื้นที่

 ส่วนร่วมในโครงการ ทุกภาคส่วนร่วมกันลงมือทำ โดยองค์การบริหารส่วนตำบล 
  ตำบลข่วงเปา เนื่องจากที่ผ่านมาผู้สูงอายุส่วนใหญ่ไม่สามารถพึ่งพาตนเองได้
 ข่วงเปา ประสานภาคส่วนที่เกี่ยวข้องให้เข้ามาร่วมดำเนินการในแต่ละกิจกรรม   
  ในทางการเงินและมีภาวะหนี้สิน จึงมีการพูดคุยกันภายในกลุ่มถึงแนวทางในการ
 ซึ่งอาจเข้ามาร่วมในลักษณะขององค์ความรู้ แรงกาย วัสดุอุปกรณ์ สถานที่ หรือ 
  แก้ไขปัญหา และได้ข้อสรุปร่วมกันว่า ควรมีการออมเงินเพื่อเก็บไว้ใช้เป็นค่าใช้จ่าย
 งบประมาณ ซึ่งขึ้นอยู่กับความรู้ความสามารถ ความเชี่ยวชาญ หรือหน้าที่ความรับ  ทั่วไปหรือในกรณีจำเป็น ต่อมา กลุ่มผู้สูงอายุจึงเสนอโครงการที่ส่งเสริมพฤติกรรม
 ผิดชอบของแต่ละภาคส่วน นอกจากนี้ ทุกภาคส่วนยังร่วมกันติดตามและประเมินผล  การออมเงินของคนในพื้นที่ ที่มีชื่อว่า “โครงการเงินออม สร้างสุข” เข้าสู่เวที

 การดำเนินงาน โดยคณะกรรมการศูนย์ได้จัดทำแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เข้า  ประชาคมในระดับหมู่บ้านและระดับตำบล ซึ่งโครงการได้ผ่านการพิจารณา และได้
 ร่วมโครงการ และสำรวจจำนวนผู้ที่ได้รับประโยชน์จากโครงการ รวมทั้ง ได้ขอรับ  
  บรรจุเป็นแผนพัฒนาขององค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปา
 ข้อเสนอแนะเพื่อนำกลับมาใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนาปรับปรุงศูนย์ต่อไป
                โครงการ “เงินออม สร้างสุข” จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างวินัย
 การก่อตั้งและการดำเนินกิจกรรมของศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริม  การออมเงินให้แก่ประชาชนในพื้นที่ เพื่อให้ประชาชนมีเงินออม สามารถพึ่งพาตนเอง
 อาชีพผู้สูงอายุตำบลข่วงเปาในช่วงที่ผ่านมา ส่งผลให้ผู้สูงอายุในพื้นที่ได้รับการดูแล  
  ได้ในทางการเงิน และอยู่ดี กินดี มีสุข หรือมีคุณภาพชีวิตที่ดีตามหลักปรัชญา

 ทั้งสุขภาพกายและใจ ผู้สูงอายุทุกกลุ่มเป้าหมาย ทั้งผู้ที่ช่วยเหลือตนเองได้ ผู้ที่ 
  เศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งวัตถุประสงค์เช่นนี้มีความสอดคล้องกับนโยบายของผู้บริหาร
 ช่วยเหลือตนเองได้บ้าง และผู้ที่นอนติดเตียง ได้รับการดูแลจากอาสาสมัครและได้เข้า  ท้องถิ่นที่มุ่งส่งเสริมและสร้างวินัยการออมเงินให้แก่ประชาชนเช่นเดียวกัน
 ร่วมกิจกรรมของศูนย์ในมิติต่างๆ ซึ่งช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุให้อยู่ดีมีสุข
 มากขึ้น นอกจากนี้ การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการดำเนินงานยังก่อให้เกิดการ  องค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปา ทำหน้าที่ประสานสถาบันการเงิน คือ
 พัฒนาศักยภาพของคนในท้องถิ่น เกิดการเรียนรู้ รู้จักการเสียสละ เห็นแก่ประโยชน์  ธนาคารกรุงไทย ให้จัดทำระบบการเปิดบัญชีและการรับฝากเงิน โดยในช่วงแรก
 ส่วนรวม เกิดจิตอาสา มีความสามัคคี และความสัมพันธ์ที่ดีในชุมชน ด้วยประโยชน์  ธนาคารได้ลงพื้นที่ทุกหมู่บ้านเพื่อรับสมัครและเปิดบัญชีให้แก่ผู้สนใจ สำหรับการ
 เช่นนี้ องค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปา จึงต่อยอดการดำเนินงานกับกลุ่มผู้สูงอายุ  ออมเงิน ประชาชนสามารถนำเงินไปฝากด้วยตนเองได้ที่ธนาคาร แต่หากประชาชน

 ด้วยการก่อตั้ง “โรงเรียนผู้สูงอายุ” เพื่อขยายกิจกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ  
  บางกลุ่ม อาทิ ผู้สูงอายุ เด็ก ฯลฯ ไม่สะดวกเดินทางไปธนาคารด้วยตนเอง องค์การ
 ผู้สูงอายุต่อไป   บริหารส่วนตำบลข่วงเปา ยังให้บริการเสมือนไปรษณีย์ที่ทำหน้าที่รับเงินและบัญชีจาก
          ผู้ออม และนำไปฝากให้ที่ธนาคาร โดยองค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปา จะลงพื้นที่

          ทุกหมู่บ้านในวันจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุของทุก เดือน และในเดือนถัดไป เมื่อธนาคาร
          นำเงินเข้าบัญชีและปรับสมุดบัญชีให้เรียบร้อยแล้ว องค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปา
          ก็จะนำสมุดบัญชีไปแจกคืนแก่ผู้ออมเพื่อทำการตรวจสอบความถูกต้อง


                นอกจากนี้ ในการดำเนินโครงการ ชมรมผู้สูงอายุ ผู้นำชุมชน และกลุ่มสตรี
          แม่บ้าน ยังเป็นแกนนำในการประชาสัมพันธ์ให้คนในพื้นที่รู้และเข้าใจถึงข้อดีของการ



 รางวัลพระปกเกล้า’ 58                                         รางวัลพระปกเกล้า’ 58
   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91