Page 87 - kpi17733
P. 87
86 8
ออมเงิน พร้อมทั้งเชิญชวนและกระตุ้นให้คนในพื้นที่เข้าร่วมโครงการ รวมทั้ง
ส่งผลให้ไม่มีการถ่ายทอดข้อมูลข่าวสารให้แก่กัน และบางครั้งข้อมูลข่าวสารมี
ยังประชุมร่วมกันเพื่อกำหนดกฎเกณฑ์ที่เหมาะสมสำหรับการออมเงินของคนในพื้นที่ ความคลาดเคลื่อน, การส่งหนังสือและการติดประกาศ ไม่สามารถกระจายข้อมูล
กล่าวคือ 1) ผู้ออมต้องเป็นคนในพื้นที่ตำบลข่วงเปา ซึ่งประชาชนทุกเพศทุกวัย ข่าวสารสู่ประชาชนได้ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมายและเกิดความล่าช้า ฯลฯ
สามารถเข้าร่วมโครงการได้ 2) ผู้ออมต้องออมเงินต่อเนื่องเป็นระยะเวลา 1 ปี
ด้วยข้อบกพร่องในกระบวนการสื่อสารดังที่ผ่านมา องค์การบริหารส่วนตำบล
โดยไม่สามารถถอนเงินออกมาได้ 3) ผู้ออมต้องออมเงินไม่ต่ำกว่า 100 บาทต่อเดือน ข่วงเปา จึงมุ่งพัฒนาระบบการสื่อสาร โดยจัดทำเป็นโครงการที่มีชื่อว่า “เสียงไร้สาย
4) การออมเงินสามารถนำฝากได้ 2 วิธี คือ ฝากด้วยตนเองที่ธนาคาร และฝากที่ กระจายความรู้ คู่ชุมชน” ซึ่งองค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปาได้นำโครงการนี้เข้าสู่
องค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปาในวันจ่ายเบี้ยยังชีพเพื่อนำไปฝากให้ที่ธนาคาร
การพิจารณาของเวทีประชาคมระดับหมู่บ้านในทุกหมู่บ้านและเวทีประชาคมในระดับ
กล่าวได้ว่า “โครงการเงินออม สร้างสุข” เป็นโครงการที่ริเริ่มจากประชาชน ตำบลก่อนบรรจุในแผนพัฒนาขององค์การบริหารส่วนตำบล เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่
โดยการเสนอโครงการผ่านเวทีประชาคมระดับหมู่บ้านและระดับตำบล และ ได้ร่วมกันสะท้อนปัญหาและเสนอความต้องการเกี่ยวกับการให้ข้อมูลข่าวสารของ
ประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินงานอย่างเต็มที่ ปัจจุบัน มีประชาชนในพื้นที่ให้ องค์การบริหารส่วนตำบล
ความสนใจและเข้าร่วมโครงการ จำนวน 400 คน และมียอดเงินนำฝาก ประมาณ
วัตถุประสงค์ของโครงการ “เสียงไร้สาย กระจายความรู้ คู่ชุมชน” คือ การ
30,000 - 50,000 บาทต่อเดือน ทั้งนี้ การรณรงค์ส่งเสริมให้มีการออมเงินอย่าง
กระจายข้อมูลข่าวสารในด้านต่างๆ ขององค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปาให้แก่
ต่อเนื่องส่งผลให้เกิดการปรับเปลี่ยนทัศนคติในการใช้จ่ายเงิน เกิดจิตสำนึกรัก
ประชาชน อาทิ ผลการดำเนินงาน ข้อมูลการเงินการคลัง ข้อมูลการพัสดุ รายงาน
การออม และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้มีวินัยทางการเงินมากขึ้น ซึ่งถือเป็น
การประชุมสภา แจ้งการประชุม และประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารอื่นๆ เพื่อให้
การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในการดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และเป็น ประชาชนในพื้นที่เข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้อย่างถูกต้องและรวดเร็วทันต่อเหตุการณ์
รากฐานของสังคมที่เข้มแข็งภายใต้วิถีชีวิตแบบพอเพียงอย่างยั่งยืน
นอกจากนี้ องค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปา ยังเชื่อมั่นในหลักการที่ว่า
หากประชาชนเข้าถึงข้อมูลข่าวสารขององค์การบริหารส่วนตำบลแล้ว ย่อมเป็นการ
แสดงให้เห็นถึงความโปร่งใสในการบริหารงาน สร้างความไว้วางใจให้เกิดขึ้น และ
โครงการ “เสียงไร้สาย กระจายความรู้ คู่ชุมชน”
กระตุ้นให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมได้ในที่สุด และไม่เพียงข้อมูลข่าวสารของ
การสื่อสารข้อมูลข่าวสารระหว่างองค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปาและ องค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปาเท่านั้น โครงการ “เสียงไร้สาย กระจายความรู้
ประชาชนในพื้นที่ เป็นกลไกหนึ่งที่องค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปาใช้ในการสร้าง คู่ชุมชน” ยังกระจายข้อมูลข่าวสารที่สำคัญของหน่วยงานอื่นๆ ในพื้นที่ให้ประชาชน
ความโปร่งใสและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนมาโดยตลอด แต่ที่ผ่านมา
รับทราบอีกด้วย
ยังพบปัญหาบางประการที่เกิดจากช่องทางที่ใช้ในการสื่อสาร อาทิ การใช้หอกระจาย
ข่าวที่มีอยู่ในทุกหมู่บ้าน โดยให้ผู้ใหญ่บ้านเป็นผู้ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารในเวลา โครงการ “เสียงไร้สาย กระจายความรู้ คู่ชุมชน” มีระบบการบริหารจัดการที่
6.00-7.00 น. นั้น บางหมู่บ้านไม่ได้กระจายข้อมูลข่าวสารเป็นประจำทุกวัน และ ชัดเจน โดยมีการแต่งตั้งคณะทำงาน มีการประชุมคณะทำงานและผู้ที่เกี่ยวข้องเป็น
เครื่องมือเครื่องใช้มักเกิดการชำรุดบ่อยครั้ง ทำให้ไม่สามารถประชาสัมพันธ์ข้อมูล ประจำทุกเดือนเพื่อติดตามและประเมินผล มีการจัดทำผังรายการ มีการจัดช่วงเวลา
ข่าวสารได้, การใช้วิธีการบอกปากต่อปาก มักเกิดความไม่แน่นอนในการพบปะกัน ในการให้ข้อมูลข่าวสารที่เหมาะสมโดยไม่รบกวนหรือกระทบต่อวิถีชีวิตหรือกิจกรรม
ประจำวันของประชาชน มีขั้นตอนการกรองข้อมูลข่าวสาร มีแบบฟอร์มการฝากข่าว
รางวัลพระปกเกล้า’ 58 รางวัลพระปกเกล้า’ 58