Page 129 - kpi20109
P. 129
12 12
- ผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่ตำบลหนองหลวง ร่วมมือในการ 9. ประชาชนในตำบลหนองหลวงได้รับส่งเสริมสุขภาพช่องปากอย่างทั่วถึงทั้งเชิงรุกและ
ดูแลสุขภาพช่องปาก การนำเสนอข้อมูลปัญหา และการให้ความรู้แนะนำการดูแล เชิงรับ ลดปัญหาการต้องรอรับบริการทันตกรรมที่โรงพยาบาลประจำอำเภอ
สุขภาพช่องปากเบื้องต้นแก่ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพึง
แนวทางการสร้างความยั่งยืนของงานทันตสาธารณสุข ตำบลหนองหลวง
4. อื่นๆ
- กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ อบต.หนองหลวง ขับเคลื่อน จุดเริ่มต้นงานทันตสาธารณสุขของตำบลหนองหลวงเกิดจากความต้องการของประชาชน
โครงการโดยเป็นผู้อนุมัติโครงการ/งบประมาณในการส่งเสริมและดูแลสุขภาพ ในพื้นที่ผ่านกระบวนการเวทีชาวบ้าน สู่เวทีประชาคม เข้าสู่แผนสุขภาพชุมชน ทำให้เกิดการจัดซื้อ
ช่องปาก ยูนิตทันตกรรม และสนับสนุนโดยการจ้างทันตบุคลากรมาดำเนินงานในพื้นที่ โดยมีการจัดทำ
- สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สนับสนุนงบประมาณกองทุนหลักประกัน แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ในการขับเคลื่อนกิจกรรม โดยชุมชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
สุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ อบต.หนองหลวง ร่วมดำเนินกิจกรรม ร่วมประเมินผลกิจกรรมทุกปี อย่างต่อเนื่อง โดยมีเป้าหมาย 3 ระยะ คือ
ระยะสั้นคือเด็กปฐมวัยฟันน้ำนมไม่ผุ ระยะกลางคือเด็กอายุ12 ปีฟันดีทุกซี่ และระยะยาวคือ
ผลจากการมุ่งมั่นดำเนินการของเครือข่ายส่งเสริมและดูแลสุขภาพช่องปากให้กับประชาชน ผู้สูงอายุมีฟันแท้ใช้เคี้ยวอาหาร28 ซี่ โดยผู้สูงอายุอย่างน้อยต้องมีฟันแท้ใช้งาน 20 ซี่ ซึ่งเป็น
ตำบลหนองหลวงที่ผ่านมาทำให้เกิดผลที่เป็นรูปธรรม ได้แก่ เป้าหมายหลักของการมีคุณภาพชีวิตที่ดีของคนตำบลหนองหลวงในอนาคต
1. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลหนองหลวงผ่านมาตรฐานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กคุณภาพ เครือข่ายการดำเนินงานการบริการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กคุณภาพ
จำนวน 1 แห่ง ขององค์การบริหารส่วนตำบลหนองหลวง
2. เด็กอายุ 3 ปีฟันน้ำนมดีทั้งปาก (Caries freeปี) มากกว่าร้อยละ 50 องค์การบริหารส่วนตำบลหนองหลวงได้จัดตั้งและดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การ
บริหารส่วนตำบลหนองหลวง เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย อายุ 2-5 ปี และเป็นการกระจายโอกาสให้
3. โรงเรียนประถมศึกษาและโรงเรียนขยายโอกาส จำนวน 8 โรงเรียน ผ่านมาตรฐาน
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทอง 4 โรงเรียน ประชาชนได้รับบริการเพื่อเตรียมความพร้อมให้แก่เด็กปฐมวัยอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ จำนวน
6 ศูนย์ ครอบคลุมทั้ง 14 หมู่บ้าน หากแต่ยังมีปัญหาเรื่องการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้มี
4. เด็กนักเรียนอายุ 6-15 ปี มีฟันแท้ดีทั้งปาก (Caries free) ทั้งโรงเรียน มากกว่า คุณภาพเป็นไปมาตรฐานการดำเนินงานสำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ร้อยละ 50 และมาตรฐานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กคุณภาพกระทรวงสาธารณสุข เนื่องจากเด็กปฐมวัยอายุ 2-5 ปี
ในเขตตำบลหนองหลวงและนอกเขตพื้นที่เข้ามารับการอบรมเลี้ยงดูเพิ่มมากขึ้น ทำให้การอบรม
5. โรงเรียนประถมศึกษาและโรงเรียนขยายโอกาส จำนวน 8 โรงเรียน ผ่านมาตรฐาน
เครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดี จำนวน 1 เครือข่าย เลี้ยงดูเป็นไปอย่างไม่ทั่วถึง ประกอบกับบริบทในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลหนองหลวง
ประชาชนมีอาชีพหลักคือเกษตรกรรม ทำไร่ ทำนา ซึ่งส่วนใหญ่มีฐานะยากจน มีรายได้ไม่เพียงพอ
6. มีอาสาสมัครสาธารณสุขเชี่ยวชาญงานทันตสาธารณสุข ครอบคลุม ทั้ง 14 หมู่บ้าน ต่อการดำรงชีพ พ่อ แม่ของเด็กปฐมวัยส่วนใหญ่จึงต้องออกไปทำงานนอกพื้นที่เพื่อหารายได้เพิ่ม
ภาระการอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยจึงตกอยู่กับปู่ ย่า ตา ยาย การรับ – ส่ง เด็กจึงไม่สะดวก อีกทั้ง
7. รพ.สต.มีการจัดบริการสุขภาพช่องปากครบ 6 กลุ่มวัย 14 กิจกรรม
เด็กไม่ได้แยกอบรมเลี้ยงดูตามสัดส่วนอายุ การพัฒนาบุคลากรในด้านต่างๆ เช่น การจัดกิจกรรม
8. ชมรมผู้สูงอายุเกิดงานทันตสาธารณสุขในชมรมผู้สูงอายุ จำนวน 1 ชมรม ส่งเสริมประสบการณ์ให้กับเด็กไม่ต่อเนื่อง บุคลากรแยกกันประจำแต่ละศูนย์ทำให้การจัดทำ
รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61 รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61