Page 163 - kpi20109
P. 163
162 16
เครือข่ายเสริมสร้างรายได้ ปลดหนี้สิน โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สมาชิกเครือข่าย บทบาท
ตำบลนาพู่เป็นสังคมเกษตรกรรม ชาวบ้านทั่วไปมีอาชีพทำไร่ ทำนา เลี้ยงสัตว์ และ เครือข่ายการศึกษานอกระบบและการศึกษา - ให้ความรู้และทักษะการปฏิบัติตามแนวหลักปรัชญา
บางส่วนทำงานรับจ้างในตัวเมือง ทำให้ชาวบ้านส่วนใหญ่ว่างงานในช่วงนอกฤดูการทำนา เนื่องจาก ตามอัธยาศัย (กศน.) อำเภอเพ็ญ เศรษฐกิจพอเพียง
เกษตรกรส่วนใหญ่ทำการผลิตในลักษณะเกษตรเชิงเดี่ยว พึ่งพาผลผลิตทางการเกษตรเพียง พัฒนาการอำเภอเพ็ญ - ให้ความรู้การจัดทำบัญชีครัวเรือน ตลอดจนการวางแผน
ชนิดเดียว เช่น ทำนาอย่างเดียว เลี้ยงสัตว์อย่างเดียว ดังนั้น เมื่อราคาสินค้าเกษตรตกต่ำ การใช้จ่ายเงินให้เหมาะสมระหว่างรายรับและรายจ่ายในแต่
จึงได้รับผลกระทบที่รุนแรงเนื่องจากไม่มีรายได้จากส่วนอื่นมาชดเชย อีกทั้งประชาชนบางส่วน สำนักงานเกษตรอำเภอเพ็ญ ละวัน
- ให้ความรู้ด้านเทคโนโลยีเกษตรแบบผสมผสาน และ
เป็นหนี้ทั้งในระบบและนอกระบบ ซึ่งเป็นปัญหาต่อการดำรงชีวิตของครอบครัว อันจะส่งผล เสริมสร้างประสบการณ์ด้านการเกษตรให้ชำนาญ
ให้เกิดปัญหาของสังคมที่หลากหลายต่อไป
สำนักงานปศุสัตว์อำเพ็ญ - ให้ความรู้หลักการเกษตรทฤษฎีใหม่มาปรับใช้ในการดำเนิน
องค์การบริหารส่วนตำบลนาพู่และภาคีเครือข่าย ได้ตระหนักถึงปัญหาความไม่มั่นคงด้าน กิจกรรมทางการเกษตรในพื้นที่ของตนเองอย่างเหมาะสมกับ
รายได้ของประชาชนในเขตพื้นที่ตำบลนาพู่ จึงได้ริเริ่มกระบวนการแก้ไขปัญหาโดยใช้หลักปรัชญา ภูมิสังคม ปรับเปลี่ยนการผลิตการเกษตรไปสู่การผลิตที่เป็น
มิตรต่อสิ่งแวดล้อม
“เศรษฐกิจพอเพียง” ตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
รัชกาลที่ 9 เป็นแนวทางให้ประชาชนได้พึ่งพาตนเอง และเป็นการสร้างความมั่นคงของรายได้ใน หอการค้าจังหวัดอุดรธานี - ให้ความรู้กลยุทธทางการตลาด การใช้เทคโนโลยี
ที่เหมาะสม ราคาเหมาะสมและถูกต้องกับสถานการณ์
อนาคต องค์การบริหารส่วนตำบลนาพู่ได้ผลักดันให้เกษตรกรได้มีการรวมกลุ่มกันเพื่อพัฒนาอาชีพ
เกษตรตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง โดยได้ระดมความคิดเห็นของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนในการ กลุ่มอาชีพวิถีพอเพียงตำบลนาพู่ - ให้ความรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้อาชีพต่างๆ ภายในตำบล
วิสาหกิจชุมชนดอกกระเจียวหวาน
นาพู่แบบบูรณาการ
สร้างองค์ความรู้และแนวทางการดำเนินชีวิตของครอบครัวที่เข้าร่วมโครงการ จากนั้นได้จัดอบรม บ้านดอนยาง - ช่วยเหลือ สนับสนุน และถ่ายทอดองค์ความรู้ตาม
ความรู้เกษตรทฤษฎีใหม่ การปลูกพืชเศรษฐกิจ การเลี้ยงสัตว์ การทำปุ๋ยหมักชีวภาพ ฯ และ กลุ่มนักเรียนโรงเรียนผู้สูงอายุตำบลนาพู่ ความเชี่ยวชาญเฉพาะ เช่น ปุ๋ยอินทรีย์ น้ำหมักอินทรีย์
ฝึกให้ผู้เข้าร่วมโครงการจัดทำบัญชีครัวเรือนเพื่อลดปัญหาหนี้สิน พร้อมทั้งมีการติดตามผล กลุ่มเกษตรกรอินทรีย์ตำบลนาพู่ การปรับปรุงดิน การเลี้ยงใส้เดือน ฯลฯ
และให้คำปรึกษาแก่ผู้เข้าร่วมโครงการอย่างใกล้ชิด ซึ่งส่งผลให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีสภาพ จากผลการดำเนินงานของเครือข่ายเสริมสร้างรายได้ ปลดหนี้สิน โดยใช้หลักปรัชญา
ความเป็นอยู่ดีขึ้น รายได้ของครัวเรือนเพิ่มขึ้น รายจ่ายและปัญหาหนี้สินลดลง จึงอยากให้มีการ เศรษฐกิจพอเพียง ทำให้ประชาชนตำบลนาพู่มีความรู้ ความเข้าใจ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
แบ่งปันความรู้และประสบการณ์แก่เกษตรกรรายอื่นๆ โดยได้มีการจัดตั้งคณะกรรมการ ที่ถูกต้อง และสามารถบูรณาการการทำเกษตรแบบผสมผสานให้เข้ากับพื้นที่ของตนเอง เกษตรกร
ศูนย์ถ่ายทอดความรู้และขยายเครือข่ายไปในแต่ละหมู่บ้าน ให้เกษตรกรได้แบ่งปันความรู้และ รู้จักการแบ่งพื้นที่ให้เป็นสัดส่วนอย่างเหมาะสมและใช้พื้นที่ให้เกิดประโยชน์ได้มากที่สุดจากที่มีอยู่
ประสบการณ์จากการนำศาสตร์พระราชาและโครงการพระราชดำริมาปรับใช้ในพื้นที่ของตนเอง เดิมได้เป็นอย่างดี สามารถปลูกพืชผักขายและบริโภคเองในครัวเรือน และเลี้ยงสัตว์ ซึ่งสามารถ
ให้กับประชาชนที่มีความสนใจที่จะเรียนรู้สามารถนำแนวทางไปปฏิบัติให้เกิดเป็นรูปธรรมพึ่งพา สร้างรายได้ ลดรายจ่าย มีอาหารไว้บริโภคในครัวเรือนอย่างเพียงพอ และยังมีการแบ่งปัน
ตนเองได้ แลกเปลี่ยนผลผลิตของตนเองให้กับครัวเรือนและชุมชนใกล้เคียง นอกจากนี้ยังเกิดการรวมกลุ่ม
การดำเนินงานดังกล่าวขององค์การบริหารส่วนตำบลนาพู่เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจนของ ของเกษตรกรปลูกพืชพันธุ์เศรษฐกิจเป็นวิสาหกิจขนาดย่อม และร่วมกันสร้างการเรียนรู้เรื่องการใช้
ประชาชนในพื้นที่ ไม่ใช่การดำเนินงานแต่เพียงลำพังหากเป็นการขับเคลื่อนที่อาศัยพลังเครือข่าย ปุ๋ยหมักชีวภาพ ทดแทนการใช้ปุ๋ยเคมีที่ส่งผลให้เกิดปัญหาในการสร้างต้นทุนในการผลิต และ
ในพื้นที่ที่เกี่ยวข้องหลายภาคส่วนร่วมกัน โดยแบ่งบทบาทหน้าที่การดำเนินงานด้านต่างๆ ดังนี้ ผลเสียทางระบบนิเวศของชุมชนได้ในระยะยาว
รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61 รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 61